ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ของนักศึกษาพยาบาลในวิทยาลัย

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ของนักศึกษาพยาบาลในวิทยาลัย by Mind Map: ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ของนักศึกษาพยาบาลในวิทยาลัย

1. ความเป็นมา

1.1. การจัดการศึกษาตามแนวคิดเดิมที่เน้นการ ถ่ายทอดความรู้จากครูสู่ศิษย์ เน้นการสอนเนื้อหาจึงไม่ สามารถพัฒนาบัณฑิตให้เกิดทักษะที่จำเป็นตามความ ต้องการของสังคมในปัจจุบันได้ การจัดการเรียนการสอน จึงต้องปรับมาเป็นการเน้นกระบวนเรียนรู้ที่ช่วยให้ศิษย์ ได้เกิดการเรียนรู้และทักษะที่จำเป็นในการดำรงชีวิตและ ประกอบอาชีพในสังคมที่มีความซับซ้อนและเป็นพลวัตร เป้าหมายหลักของการศึกษาในศตวรรษ 21 จึงไม่ใช่ตัว เนื้อหาหรือสาระความรู้ แต่เป็นการฝึกให้เกิดทักษะ (Skills) ที่จำเป็น และฝึกการเรียนรู้ต่อเนื่องตลอดชีวิต1

2. ความสำคัญ

2.1. ตระหนักถึงความจำเป็นที่จะต้องปฏิรูปการเรียนการสอนให้สามารถผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ ตอบสนองต่อความต้องการของสังคมในปัจจุบัน จึงสนใจศึกษาและพัฒนาทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ของนักศึกษาพยาบาล โดยเริ่มตั้งแต่การศึกษาทักษะของนักศึกษาและบริบทในการจัดการเรียนการสอนของวิทยาลัยในปัจจุบัน แล้วนำมาวางแผนพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ โดยสร้างแบบสอบถามตามกรอบแนวคิดทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ของ Trilling & Fadel5เพื่อนำมาวิเคราะห์ให้ทราบสถานการณ์ที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน และใช้เป็นข้อมูลนำเข้าในการกำหนดรูปแบบการเรียนการสอนที่จะส่งเสริมและพัฒนาทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ของนักศึกษาอย่างเป็นระบบต่อไป

3. ทักษะ 3R 7C

3.1. 3R

3.1.1. การอ่าน (Reading)

3.1.2. การเขียน(Writing)

3.1.3. ทักษะทางคณิตศาสตร์ (Arithmetic)

3.2. 7C

3.2.1. 1) ด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา

3.2.2. 2) ด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม

3.2.3. 3) ด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรมต่างกระบวนทัศน์

3.2.4. 4) ด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ

3.2.5. 5) ด้านการสื่อสาร สารสนเทศและรู้เท่าทันสื่อ

3.2.6. 6) ด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

3.2.7. 7) ด้านอาชีพและทักษะการเรียนรู้

4. ความรู้

4.1. ความรู้เกี่ยวกับโลก (Global Awareness)

4.2. ความรู้เกี่ยวกับการเงิน เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ และการเป็นผู้ประกอบการ (Financial, Economics, Business and Entrepreneurial Literacy)

4.3. ความรู้ด้านการเป็นพลเมือง (Civic Literacy)

4.4. ความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Literacy)

4.5. ความรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy)