1. บทบาทของการสื่อสารข้อมูลเเละเครือข่ายคอมพิวเตอร์
1.1. ประโยชน์ของการสื่อสารข้อมูลเเละเครือข่ายคอมพิวเตอร์
1.1.1. ความสะดวกในการเเบ่งปันข้อมูล เช่น การส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายโทรศัพท์ระบบดีเอสเอล (Digital Subscriber line)
1.1.2. ความถูกต้องของข้อมูล
1.1.3. ความเร็วในการรับส่งข้อมูล สัญญาณไฟฟ้าเดินทางอย่างรวดเร็วไกล้เคียงความเร็วเเสง เช่นการชมภาพยนต์ผ่านอินเทอร์เน็ต
1.1.4. การประหยัดค่าใช้จ่าย เช่น การส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์มักสะดวกเเละประหยัดค่าใช้จ่ายกว่าในการส่งในรูปเเบบของไปรษณีย์ปกติ
1.1.5. ความสะดวกในการเเบ่งปันทรัพยากร
1.1.6. ความสะดวกในการประสานงาน เช่น การประชุมทางไกล
1.1.7. ขยายบริการขององค์กร
1.1.8. การสร้างบริการรูปเเบบใหม่บนเครือข่าย
2. สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
2.1. สื่อกลางเเบบใช้สาย(อาศัยเครือข่ายสายเป็นตัวกลาง)
2.1.1. สายคู่บิดเกลียว
2.1.1.1. สายคู่บิดเกลียวเเบบไม่ป้องกันสัญญานรบกวน หรือ ยีพีที
2.1.1.2. สายคู่บุดเกลียวเเบบป้องกันสัญญานรบกวน หรือ เอสทีพี
2.1.2. สายโคเเอกซ์
2.1.3. สายไฟเบอร์ออฟติก
2.2. สื่อกลางเเบบไร้สาย (อาศัยคลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้าเป็นสื่อกลางนำสัญญาน)
2.2.1. อินฟราเรด (ต้องไม่มีสิ่งกีดขวาง) เช่น การส่งสัญญานจากรีโมทคอนโทรล
2.2.2. ไมโครเวฟ เช่น การเรียนทางไกล
2.2.3. คลื่นวิทยุ เช่น การสื่อสารทางไกลในการกระจายเสียงระบบวิทยุ เอเอ็ม เเละ เอฟเอ็ม
2.2.4. ดาวเทียมสื่อสาร
3. โพรโทคอล
3.1. ทีซีพี/ไอพี
3.2. ไวไฟ
3.2.1. ไดอาร์ดีเอ
3.2.2. บูลทูท
4. การสื่อสารข้อมูล
4.1. องค์ประกอบพื้นฐานการสื่อสารข้อมูล
4.1.1. ข้อมูลข่าวสาร (data/message)
4.1.2. ผู้ส่ง (sender)
4.1.3. ผู้รับ (resiver)
4.1.4. สื่อกลางในการส่งข้อมูล (transmission media)
4.1.5. โพลโทคอล
4.2. สัญญานที่ใช้ในระบบการสื่อสาร
4.2.1. สัญญานอะนาล๊อก
4.2.2. สัญญานดิจิทอล
4.3. การถ่ายโอนข้อมูล
4.3.1. การถ่ายโอนข้อมูลเเบบขนาน ทำได้โดยการส่งข้อมูลมาทีละหลายๆบิตพร้อมกันจากอุปกรณ์ส่งไปยังอุปกรณ์รับ ผ่านสื่อกลางนำสัญญานหลายๆเส้น ที่มีจำนวนสายส่งสัญญานเท่ากับจำนานบิตที่ต้องการส่ง
4.3.2. การถ่ายโอนข้อมูลเเบบอนุกรม ข้อมูลจะถูกส่งออกมาทีละบิตระหว่างจุดส่งเเละจุดรับเพียงช่องเดียวหรือคู่สายเดียว
4.4. รูปเเบบการรับส่งข้อมูล
4.4.1. การสื่อสารทางเดียว เช่น การกระจายเสียงโทรทัศน์หรือสถานีวิทยุ
4.4.2. การสื่อสารสองทางครึ่งอัตรา เช่น วิทยุสื่อสาร
4.4.3. การสื่อสารสองทางเต็มอัตรา เช่นการสนทนาทางโทรศัพท์คู่สนทนาคุยตอบโต้ด้วยในเวลาเดียวกัน
5. เครือข่ายคอมพิวเตอร์
5.1. เครือข่ายส่วนบุคคล (เเพน) เช่น การเชี่ยมต่อคอมพิวเตอร์กับโทรศัพท์มือถือ
5.2. เครือข่ายเฉพาะที่ (เเลน)
5.3. เครือข่ายนครหลวง (เเมน)
5.4. เครือข่ายวงกว้าง (เเวน)
5.5. ลักษณะของเครือข่าย
5.5.1. เครือข่ายเเบบรับ ให้บริการ หรือไคลเอนท์/เซิร์ฟเวอร์ เช่น การเปิดเว็บเพจ
5.5.2. เครือข่ายระดับเดียวกัน เช่น การเเบ่งปันเพลง ภาพยนตร์ โปรเเกรม
5.6. รูปเเบบเครือข่าย
5.6.1. เครือข่ายเเบบบัส รูปเเบบโครงสร้างไม่ยุ่งยากจะเชื่อมต่อเข้ากับสายสื่อสารหลักเพียงสายเดียว
5.6.2. เครือข่ายเเบบวงเเหวน สัญญานข้อมูลจะส่งอยู่ในวงเเหวนไปในทิศทางเดียวกันจนถึงผู้รับ
5.6.3. เครือข่ายเเบบดาว เชื่อมต่อสถานีในเครือข่ายโดยทุกสถานีจะต่อเข้ากับหน่วยสลับสายกลาง หรือ ฮับ/สวิตซ์
5.6.4. เครือข่ายเเบบเมช (มีความนิยมมาก) มีประสิทธิภาพสูง
6. อุปกรณ์การสื่อสาร
6.1. โมเด็ม เช่นการต่อโทรศัพท์บ้าน
6.1.1. โมเด็มเเบบหมุนโทรศัพท์
6.1.2. ดิจิทอลโมเด็ม
6.1.2.1. ดีเอสเเอล
6.1.2.2. เคเบิลโมเด็ม