บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร by Mind Map: บทที่ 4  ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร

1. บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์

1.1. การสื่อสารข้อมูล

1.1.1. เป็นการพูดคุยของมนุษย์

1.2. ระบบเครือข่าย

1.2.1. เป็นการติดต่อสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์หลายเครื่องในเวลาเดียวกัน

1.3. ประโยชน์ของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์

1.3.1. ความสะดวกในการแบ่งปันข้อมูล

1.3.2. ความถูกต้องของข้อมูล

1.3.3. ความเร็วของการรับส่งข้อมูล

1.3.4. การประหยัดค่าใช้จ่ายในการสื่อสารข้อมูล

1.3.5. ความสะดวกในการแบ่งปันทรัพยากร

1.3.6. ความสะดวกในการประสานงาน

1.3.7. ขยายบริการขององค์กร

1.3.8. การสร้างบริการรูปแบบใหม่บนเครือข่าย

2. การสื่อสารข้อมูล

2.1. องค์ประกอบพื้นฐานของระบบการสื่อสารข้อมูล

2.1.1. ข้อมูล/ข่าวสาร

2.1.2. ผู้ส่ง

2.1.3. ผู้รับ

2.1.4. สื่อกลางในการส่งข้อมูล

2.1.5. โพรโทคอล

2.2. สัญญาณที่ใช้ในระบบการสื่อสาร

2.2.1. สัญญาณแอนะล็อก

2.2.2. สัญญาณดิจิทัล

2.3. การถ่ายโอนข้อมูล

2.3.1. การถ่ายโอนข้อมูลแบบขนาน

2.3.1.1. การส่งข้อมูลออกมาทีละหลายบิตพร้อมกัน

2.3.2. การถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรม

2.3.2.1. ข้อมูลจะถูกส่งออกมาทีละบิต

2.4. รูปแบบการรับ-ส่งข้อมูล

2.4.1. การสื่อสารทางเดียว

2.4.1.1. เช่น การกระจายเสียงของสถานีวิทยุ

2.4.2. การสื่อสารสองทางครึ่งอัตรา

2.4.2.1. เช่น วิทยุสื่อสาร

2.4.3. การสื่อสารสองทางเต็มอัตรา

2.4.3.1. เช่น การสนทนาโทรศัพท์

3. โพรโทคอล

3.1. ทีซีพี/ไอพี

3.2. ไวไฟ

3.2.1. ไออาร์ดีเอ

3.2.2. บลูทูท

4. ตัวอย่างการติดตั้งแลนภายในบ้าน

4.1. สามารถทำได้โดยเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อย่างน้อยสองเครื่องเข้าด้วยกัน โดยผ่านสวิตช์ และทำการปรับตั้งค่าของโพรโทคอลการสื่อสารที่เกี่ยวข้อง จะทำให้คอมพิวเตอร์สามารถสื่อสารข้อมูลกันได้

5. สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล

5.1. สื่อกลางแบบใช้สาย

5.1.1. สายคู่บิดเกลียว

5.1.1.1. แบบไม่ป้องกันสัญญาณรบกวน หรือสายยูพีที

5.1.1.2. แบบปกป้องสัญญาณรบกวน หรือสายเอสพีที

5.1.2. สายโคเเอกซ์

5.1.3. สายไฟเบอร์ออพติก

5.2. สื่อกลางแบบไร้สาย

5.2.1. อินฟราเรด

5.2.1.1. เช่น การส่งสัญญาณจากรีโมตคอนโทรลไปยังเครื่องรับโทรทัศน์

5.2.2. ไมโครเวฟ

5.2.2.1. สำหรับการเชื่อมต่อระยะไกล

5.2.3. คลื่นวิทยุ

5.2.3.1. เช่น การสื่อสารระยะไกลในการกระจายเสียงวิทยุระบบเอเอ็มและเอฟเอ็ม

5.2.3.2. เช่น การสื่อสารระยะใกล้ โดยการใช้ไวไฟและบลูทูท

6. เครือข่ายคอมพิวเตอร์

6.1. แบ่งตามพื้นที่ที่ครอบคลุมการใช้งาน

6.1.1. เครือข่ายส่วนบุคคลหรือแพน

6.1.2. เครือข่ายเฉพาะที่หรือแลน

6.1.3. เครือข่ายนครหลวงหรือแมน

6.1.4. เครือข่ายวงกว้างหรือแวน

6.2. ลักษณะของเครือข่าย

6.2.1. เครือข่ายแบบรับ-ให้บริการ หรือไคลเอนท์/เซิร์ฟเวอร์

6.2.1.1. เช่น การเปิดเว็บเพจ

6.2.2. เครือข่ายระดับเดียวกัน

6.2.2.1. เช่น การแบ่งปันเพลง ภาพยนตร์

6.3. รูปร่างเครือข่าย

6.3.1. เครือข่ายแบบบัส

6.3.1.1. สถานีทุกสถานีในเครือข่ายจะเชื่อมต่อ เข้ากับสายสื่อสารหลักเพียงสายเดียวที่เรียกว่า "บัส"

6.3.2. เครือข่ายแบบวงแหวน

6.3.2.1. เชื่อมแต่ละสถานีเข้าด้วยกันแบบวงแหวน สัญญาณข้อมูลจะส่งอยู่ในวงแหวน ไปในทิศทางเดียวกันจนถึงผู้รับ

6.3.3. เครือข่ายแบบดาว

6.3.3.1. เชื่อมต่อสถานีในเครือข่าย โดยทุกสถานีจะต่อเข้ากับหน่วยสลับสายกลาง เช่น ฮับ หรือสวิตช์

6.3.4. เครือข่ายแบบเมช

6.3.4.1. เป็นรูปแบบของการเชื่อมต่อที่มีความนิยมมาก และมีประสิทธิภาพสูง

7. อุปกรณ์การสื่อสาร

7.1. โมเด็ม

7.1.1. โมเด็มแบบหมุนโทรศัพท์

7.1.2. ดิจิทัลโมเด็ม

7.1.2.1. ดีเอสแอล

7.1.2.2. เคเบิลโมเด็ม

7.2. การ์ดแลน

7.3. สวิตช์

7.4. ฮับ

7.5. อุปกรณ์จัดเส้นทาง

7.6. จุดเชื่อมต่อแบบไร้สาย