ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร

Comienza Ya. Es Gratis
ó regístrate con tu dirección de correo electrónico
ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร por Mind Map: ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร

1. สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล

1.1. สื่อกลางแบบใช้สาย

1.1.1. สายคู่บิดเกลียว

1.1.1.1. มี2ชนิด

1.1.1.1.1. สายคู่บิดเกลียวแบบไม่ป้องสัญญาณรบกวน หรือ ยูทีพี

1.1.1.1.2. สายคู่บิดเกลียวแบบป้องสัญญาณรบกวน หรือ เอสทีพี

1.1.1.2. สามารถส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูง

1.1.2. สายโคแอกซ์

1.1.2.1. นิยมใช้เป็นสายนำสัญญาณแอนะล็อก

1.1.3. สายไฟเบอร์ออบติก

1.1.3.1. เส้นใยทำจากแก้ว แกนกลางถูกหุ้มด้วยใยแก้ว เรียกว่าแคล็ดดิง

1.2. สื่อกลางแบบไร้สาย

1.2.1. อินฟราเรด

1.2.1.1. ใช้ในการสื่อสารข้อมูลที่ไม่มีสิ่งกรีดขวาง

1.2.2. ไมโครเวฟ

1.2.2.1. มีความเร็วสูง ใช้เชื่อมต่อระยะไกล

1.2.3. คลื่นวิทยุ

1.2.3.1. สามารถส่งได้ทั้งใกล้และไกล ส่งในอากาศ

1.2.4. ดาวเทียวสื่อสาร

1.2.4.1. พัฒนาเพื่อหลีกเลี่ยงข้อจำกัดสถานีรับสัญญาณไมโครเวฟ

1.2.4.2. ระบุตำแหน่งบนพื้นโลกเรียกว่าจีพีเอส

2. โพรโทคอล

2.1. ทีซีพี/ไอพี

2.1.1. ใช้ในการสื่อสารระบบอินเทอร์เน็ต

2.2. ไวไฟ

2.2.1. ไออาร์ดีเอ

2.2.1.1. เชื่อมคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์สื่อสารแบบไร้สายระยะใกล้

2.2.2. บลูทูท

2.2.2.1. ใช้เคลื่อนวิทยุความถี่ 2.4 GHzในการรับส่งข้อมูลคล้ายกับแลนไร้สาย

3. อุปกรณ์การสื่อสาร

3.1. โมเด็ม

3.1.1. โมเด็มแบบหมุนโทรศัพท์

3.1.1.1. ต่อกับผู้บริการอินเทอร์เน็ตผ่านทางสายโทรศัพท์

3.1.2. ดิจิทัลโมเด็ม

3.1.2.1. รับส่งข้อมูลผ่านสายสัญญาณดิจิทัล

3.1.2.2. แบ่งเป็น

3.1.2.2.1. ดีเอสแอล

3.1.2.2.2. เคเบิลโมเด็ม

3.2. การ์ดแลน

3.2.1. เชื่อมคอมพิวเตอร์กับสายตัวนำสัญญาณ ทำให้คอมพิวเตอร์รับว่งข้อมูลกับระบบเครือข่ายได้

3.3. ฮับ

3.3.1. เป็นอุปกรณ์รวมสัญญาณ

3.4. สวิตช์

3.4.1. คล้ายกับฮับต่างกันตรงรับส่งอุปกรณ์ตัวหนึ่งจะยังไม่กระจายไปทุกจุดเหมือนฮับ

3.5. อุปกรณ์จัดเส้นทาง

3.5.1. เชื่อมโยงเครือข่ายหลายเครือข่ายไว้ด้วยกัน

3.6. จุดเชื่อมต่อแบบไร้สาย

3.6.1. ข้อมูลถูกส้งผ่านคลื่นวิทยุความถี่สูง

4. ตัวอย่างการติดตั้งแลนภายในบ้าน

4.1. 1.เชื่อมคอมพิวเตอร์อย่างน้อยสองชนิดเข้าด้วยกันผ่านสวิตช์

4.2. 2.ตั้งค่าโพรโทคอลการสื่อสารที่เกี่ยวข้อง

4.3. 3.เชื่อมต่อแลนกับอินเทอร็เน็ตโดยเชื่อสวิตช์เข้ากับอุปกรณ์จัดเส้นทาง

4.4. 4.ผู้ใช้ขอใช้บริการอินเทอร์เน็ตจากผู้ให้บริการ

5. บทบาทและการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์

5.1. ประโยชน์การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์

5.2. ความสะดวกในการแบ่งปันข้อมูล

5.3. ความถูกต้องของข้อมูล

5.4. ความเร็วของการรับส่งข้อมูล

5.5. การประหยัดค่าใช้จ่ายในการสื่อสารข้อมูล

5.6. ความสะดวกในการแบ่งปันทรัพยากร

5.7. ความสะดวกในการประสานงาน

6. การสื่อสารข้อมูล

6.1. ข้อมูลข่าวสาร (data/message)

6.1.1. ข้อมูลหรือสารสนเทศที่ส่งไปยังผู้รับ

6.2. ผู้ส่ง (Sender)

6.2.1. คนหรืออุปกรณ์ที่ใช้ส่งข้อมูล

6.3. ผู้รับ (receiver)

6.3.1. คนหรืออุปกรณ์ที่ใช้รับข้อมูล

6.4. สื่อกลางในการส่งข้อมูล (Transmission media)

6.4.1. สิ่งที่ทำหน้าที่ในการรับส่งข้อมูล

6.5. โพรโทคอล (protocol)

6.5.1. ข้อตกลงในการสื่อสารข้อมูล

6.6. สัญญาณที่ใช้ในระบบสื่อสาร

6.6.1. สัญญาณแอนะล็อก

6.6.2. สัญญาณดิจิทัล

6.7. การถ่ายโอนข้อมูล

6.7.1. การถ่ายโอนแบบขนาน

6.7.1.1. ข้อมูลถูกส่งออกมาทีละหลายบิต

6.7.2. การถ่ายโอนแบบอนุกรม

6.7.2.1. ข้อมูลถูกส่งออกมาทีละบิต

6.8. รูปแบบการรับ-ส่งข้อมูล

6.8.1. การสื่อสารทางเดียว

6.8.1.1. แต่ละฝ่ายทำหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่ง

6.8.2. การสื่อสารสองทางครึ่งอัตรา

6.8.2.1. ผลัดกันส่งผลัดกันรับ

6.8.3. การสื่อสารสองอัตราเต็ม

6.8.3.1. สามารถรับส่งได้ในเวลาเดียวกัน

7. เครือข่ายคอมพิวเตอร์

7.1. เครือข่ายส่วนบุคคลหรือแพน

7.2. เครือข่ายเฉพาะที่หรือแลน

7.3. เครือข่ายนครหลวงหรือแมน

7.4. เครือข่ายบริเวณกว้างหรือแวน

7.5. ลักษณะของเครือข่าย

7.5.1. เครือข่ายแบบรับให้บริการ

7.5.1.1. เครื่องรับร้องขอให้บริการ เครื่องให้ตอบรับแล้วส่งมายังเครื่องรับ

7.5.2. เครือข่ายระดับเดียวกัน

7.5.2.1. เป็นเครื่องให้และเครื่องรับเวลาเดียวกัน

7.6. รูปร่างเครือข่าย

7.6.1. เครือข่ายแบบบัส

7.6.1.1. เชื่อมต่อกับสายหลักเพียงสายเดียว

7.6.2. เครือข่ายแบบวงแหวน

7.6.2.1. ส่งอยู่ในวงแหวนในทิศเดียวกันจนถึงผู้รับ

7.6.3. เครือข่ายแบบดาว

7.6.3.1. ต่อเข้ากับหน่วยสลับสายกลาง

7.6.4. เครือข่ายแบบเมช

7.6.4.1. นิยมมาก ถ้าเส้นทางของการเชื่อมต่อคู่ใดคู่หนึ่งขาดยังสามารถติดต่อได้