1. ขอบข่ายและกิจกรกรม
1.1. พลศึกษา
1.1.1. การสอนพลศึกษาในชั้นเรียน
1.1.2. การแข่งขันกีฬาภายใน
1.1.3. การแข่งขันกีฬาภายนอก
1.1.4. การทดสอบสมรรถภาพ
1.1.5. การจัดการศึกษาให้กับเด็กพิเศษ (โปรแกรมสำหรับคนพิการ)
1.2. นันทนาการ
1.2.1. การสอน
1.2.2. การพัฒนาตนเองในโรงเรียน
1.2.3. การจัดกิจกรรมชุมนุม
1.2.4. กิจกรรมพิเศษต่างๆ
1.2.5. นันทนาการนอกสถานที่
2. คุณค่าและประโยชน์
2.1. พลศึกษา
2.1.1. ร่างกาย : แข็งแรง เจิรญเติบโตตามวัย
2.1.2. อารมณ์ : การควบคุมอารมณ์ มีทักษะในการดำเนินชีวิต
2.1.3. สังคม : ความสมัคคี การเรียนรู้กันและกัน มีปฏิสัมพันธ์
2.1.4. สติปัญญา : เรียนรู้ได้ดีขึ้น
2.2. นันทนาการ
2.2.1. เรียนรู้และลงมือปฏิบัติกิจกรรมอย่างมีความสุข
3. กรอบเนื้อหาและขอบข่ายองค์ความรู้
3.1. สาระที่ 1 การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์
3.2. สาระที่ 2 ชีวิตและครอบครัว
3.3. สาระที่ 3 การเคลื่อนไหว การออกกำลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย กีฬาสากล
3.4. สาระที่ 4 การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ และการป้องกันโรค
3.4.1. สาระที่ 5 ความปลอดภัยในชีวิต
3.5. สาระที่ 5 ความปลอดภัยในชีวิต
4. ความหมายของพลศึกษาและนันทนาการ
4.1. พลศึกษา เป็นศาสตร์ที่เน้นร่างกายเป็นสิ่งสำคัญมากกว่าจิตใจ เป็นการศึกษาผ่านการเคลื่อนไหว
4.1.1. พลศึกษา เป็นศาสตร์และศิลป์
4.2. นันทนาการ กิจกรรมที่สมัครใจทำในยามว่าง เพื่อให้เกิดความเพลิดเพลิน ผ่อนคลายความตึงเครียดทั้งร่างกายและจิตใจ
4.2.1. เอกลักษณ์
4.2.1.1. ไม่เป็นงานอาชีพ
4.2.1.2. ไม่เป็นอบายมุข
4.2.1.3. ไม่มีผลตอบแทน
4.2.1.4. ไม่มีใครบังคับให้ร่วมกิจกรรม
5. ปรัชญาและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
5.1. ทฤษฎีจิตนิยม (IDEALISM)
5.1.1. เป็นความเชื่อเก่าแก่ที่สุดของปรัชญาเริ่มมีมนุษย์ สามารถเข้าใจปรากฏการณ์ของธรรมชาติมีความเชื่อว่า ธาตุอันดำรงอยู่อย่างแท้จริงมีลักษณะเป็นวิญญาณ เป็นแนวความคิดที่ได้มาจาก จอร์จ เบริคเลย์ (George Berkley)
5.2. ทฤษฎีสัจนิยม (Realism)
5.2.1. Classic Realism
5.2.2. Neo-Realism
5.3. ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ (Thorndike)
5.3.1. กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness)
5.3.2. กฎแห่งการฝึกหัด(Law o f Exercise)
5.3.3. กฎแห่งความพอใจ(Law of Effect)
5.3.4. กฎการใช้และไม่ใช้ (Law of Use and Disuse)