[ ISD ] Instructional systems design

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
[ ISD ] Instructional systems design by Mind Map: [ ISD ] Instructional systems design

1. พัฒนาการ

1.1. เริ่มแรก

1.1.1. WW II

1.1.1.1. ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้มีการจัดอบรมพัฒนาศักยภาพและคัดเลือกทหาร หลังจากประสบความสำเร็จ เริ่มมีนักจิตวิทยาเข้ามาดูแลให้เป็นระบบมากขึ้น

1.1.2. 1946

1.1.2.1. Edgar Dale เริ่มจัดทำลำดับลำดับขั้นของการเรียนการสอนให้เป็นรูปธรรมมากขึ้น

1.2. 1950s

1.2.1. 1954

1.2.1.1. B. F. Skinner ได้มีบทความชื่อ "The Science of Learning and the Art of Teaching" ชี้ให้เห็นถึง โปรแกรมการสอนที่มีประสิทธิภาพ

1.2.2. 1956

1.2.2.1. Benjamin Bloom ได้เผยแพร่ 3 หัวใจหลักของการเรียนรู้

1.2.2.1.1. cognitive องค์ความรู้

1.2.2.1.2. psychomotor จิตใจ

1.2.2.1.3. affective อารมณ์

1.3. 1960s

1.3.1. 1962

1.3.1.1. Robert Glaser ได้เสนอ “criterion-referenced measures” ซึ่งเกณฑ์นี้สามารถนำมาใช้ในการประเมินระดับของผู้เรียน และสิ่งที่ผู้เรียนได้พัฒนาขอบเขตการเรียนรู้ผ่านโปรแกรมการเรียนการสอน

1.3.2. 1965

1.3.2.1. Robert Gagne ได้อธิบายเกี่ยวกับ 3 หัวใจหลักของการเรียนรู้ , 5 ผลการเรียนรู้ และ 9 เหตุหารณ์ของการเียนรู้ ไว้ใน “The conditions of Learning”

1.3.3. 1967

1.3.3.1. Michael Scriven ได้เล็งเห็นปัญหาของความจำเป็นในการประเมิน หลังจากที่ได้ล้มเหลวในการวิเคราะห์ สิ่งที่ใช้ในการฝึกฝนหรือการเรียนรู้

1.4. 1970s

1.4.1. รูปแบบการออกแบบการสอนเพิ่มขึ้นอย่างมากและประสบความสำเร็จ ในทางทหาร , สถาบันการศึกษา และภาคอุตสาหกรรม

1.4.2. David Merrill ได้พัฒนา CDT (Component Display Theory) ซึ่งมุ่งเน้นที่จะนำเสนอวิธีการสอน หรือเทคนิคการสอน

1.5. 1980s

1.5.1. ในภาคธุรกิจและการทหารให้ความสนใจในการออกแบบการสอนทำให้ มีวิวัฒนาการของการเรียนการสอนเพิ่มขึ้นเล็กน้อย

1.5.2. นักการศึกษาและนักวิจัยเริ่มที่จะพิจารณาว่าคอมพิวเตอร์ สามารถนำมาใช้ในการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้หรือพื้นที่การเรียนรู้

1.6. 1990s

1.6.1. เป็นช่วงที่เกิดความเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ในการออกแบบการเรียนการสอน

1.6.2. อิทธิพลของทฤษฎีคอนสตรัคติในการออกแบบการเรียนการสอนเริ่มมรมากขึ้น constructivists เชื่อว่าประสบการณ์การเรียนรู้ที่ควรจะเป็นต้องเกิดจากเรียนรู้จริงทำให้ผู้เรียนสร้างความรู้ที่เป็นของตนเอง

1.6.3. WWW กลายเป็นเครื่องมือการเรียนรู้ออนไลน์ เช่นเดียวกับ Hypertext และสื่อสิ่งพิมพ์ได้รับการยอมรับเป็นเครื่องมือที่ดีสำหรับการเรียนรู้

1.6.4. เทคโนโลยีขั้นสูงและทฤษฎีคอนสตรัคติได้รับความนิยม การใช้เทคโนโลยีในห้องเรียนเริ่มวิวัฒนาการจากฝึกฝนทักษะ ตามกิจกรรมเพื่อเกิดการโต้ตอบและเกิดการใช้ความคิดที่มากขึ้นของผู้เรียน

1.7. 2000s

1.7.1. การเรียนรู้ออนไลน์กลายเป็นเรื่องธรรมดา

1.7.2. เทคโนโลยยีถูกพัฒนาให้มีความสมจริงมากขึ้น และมีการจำลองสถานการณ์และสิ่งต่างมากขึ้นเพื่อนำมาใช้ในการเรียนการสอน

1.8. 2010s

1.8.1. มีการจัดการศึกษาที่มุ่งเน้นการบูรณาการเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตและคอมพิวเตอร์ปฏิสัมพันธ์ของมนุษย์ มหาวิทยาลัยหลายแห่งมีสาขาการเรียนรู้การออกแบบและเทคโนโลยี (LDT) ซึ่งเป็นศูนย์กลางของการเรียนแขนงนี้

2. ความเป็นมา

2.1. การออกแบบการเรียนการสอนมีจุดเริ่มต้นจากความต้องการในการวิจัยและพัฒนาสื่อที่ใช้ สำหรับฝึกอบรมกำลังคนที่ทำงานในด้านต่าง ๆ ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ต่อมามีความตื่นตัวในการพัฒนาบทเรียนแบบโปรแกรมทำให้งานด้านการออกแบบการเรียนการสอนเป็นงานที่ได้รับความสนใจมากขึ้น ผู้ที่ทำงานในด้านการออกแบบการเรียนการสอนในช่วงปี ค.ศ. 1970 ได้แก่ บุคคลที่เรียก ตัวเองว่า นักจิตวิทยาการศึกษา ผู้เชี่ยวชาญด้านสื่อ หรือนักออกแบบการฝึกอบรม คำว่า “การออกแบบ การเรียนการสอน” เพิ่งจะนำมาใช้เมื่อช่วงปี ค.ศ. 1980 และเริ่มต้นในภาคเอกชนที่อยู่ในสายธุรกิจและ อุตสาหกรรม ก่อนที่จะเข้ามาสู่ภาครัฐ

2.2. สำหรับ ประเทศไทย คำว่า “การออกแบบการเรียนการสอน” เป็นคำที่มีการนำมาใช้อย่างกว้างขวางในช่วงของ การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษแรก (พ.ศ. 2540-2550) และต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน โดยคุรุสภา (2556) ได้กำหนดให้การออกแบบและการจัดประสบการณ์การเรียนรู้เป็นมาตรฐานความรู้และประสบการณ์ วิชาชีพของครู จะเห็นว่าการออกแบบการเรียนการสอนได้มีความสำคัญมากขึ้น ซึ่งเป็นไปในทิศทางเดียวกันทั้งการศึกษาของไทยและสากล ดังที่ริชี เคลน และเทรซี (Richey, Klein, & Tracy, 2011, p. 1) กล่าวว่า การออกแบบการเรียนการสอนได้กลายเป็นวิชาชีพหนึ่ง เช่นเดียวกับที่เป็นศาสตร์การศึกษา

3. จัดทำโดย

3.1. นางสาวพรรษมน สาขามุละ

3.2. รหัสนิสิต 58010518007

3.3. นิสิตชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา และคอมพิวเตอร์ศึกษา

4. อ้างอิง

4.1. กฤษณะ ชัยรัตน์.ม.ป.ป..หลักการออกแบบการเรียนการสอน.สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มกราคม พ.ศ.2560.จากเว็ปไซต์ https://sites.google.com/site/kritsana752/bth-thi4-hlak-kar-xxkbaeb-kar-reiyn-kar

4.2. วีณา จันทร์จับเมฆ.2555.การออกแบบระบบการสอน Instructional System Design (ISD).สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มกราคม พ.ศ.2560.จากเว็ปไซต์ http://com544144009unit5.blogspot.com/2012/08/instructional-system-design-isd-is.html

4.3. อำพล ชันกระโทก.2555.การออกแบบการเรียนการสอน.สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มกราคม พ.ศ.2560.จากเว็ปไซต์ http://ampol0083.blogspot.com/p/5.html

4.4. Sayfon H.2556. การออกแบบระบบการเรียนการสอนในอีเลิร์นนิง.สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มกราคม พ.ศ.2560.จากเว็ปไซต์ http://hanchunblog.blogspot.com/2013/01/isd-model.html

4.5. Wikipedia.2560. Instructional design.สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มกราคม พ.ศ.2560.จากเว็ปไซต์ https://en.wikipedia.org/wiki/Instructional_design

5. ความหมาย

5.1. Instructional systems + Design

5.1.1. Instructional systems

5.1.1.1. เป็นการนำเอาวิธีการระบบ หรือวิธีระบบ มาใช้ในการเรียนการสอน

5.1.2. Design

5.1.2.1. การออกแบบ

5.1.3. ISD

5.1.3.1. การจัดระบบการสอนอย่างมีระบบ โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ นำไปสู่กระบวนการตัดสินใจออกแบบระบบ

6. คำนิยาม

6.1. Instructional System Design is a...

6.1.1. Process

6.1.1.1. การออกแบบระบบการสอนเป็นกระบวนการที่มีขั้นตอน เพื่อออกแบบบทเรียนให้มีคุณภาพ

6.1.2. Discipline

6.1.2.1. การารออกแบบระบบการสอนเป็น ส่วนหนึ่งของความรู้ที่เกี่ยวกับทฤษฎีการเรียนรู้ต่างๆ ซึ่งมีขั้นตอนการดำเนินการอย่างเป็นระบบและถูกต้อง

6.1.3. Science

6.1.3.1. การออกแบบระบบการสอนเป็นวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วยขั้นตอนต่างๆ ภายใต้สถานการณ์ที่กำหนดไว้

6.1.3.1.1. การออกแบบ

6.1.3.1.2. การพัฒนา

6.1.3.1.3. การทดลองใช้

6.1.3.1.4. การประเมินผล

6.1.3.1.5. การบำรุงรักษา

6.1.4. Reality

6.1.4.1. การออกแบบระบบการสอนเป็นกระบวนการของความจริงที่สามารถพิสูจน์ได้ เนื่องจากอาศัยหลักการของการใช้เหตุและผลบนพื้นฐานของความจริง

7. พัฒนาการของสื่อการสอน

7.1. 1900s

7.1.1. Visual media : สื่อโสตทัศน์

7.2. 1914-1923

7.2.1. Visual media films, Slides, Photographer : สื่อโสตทัศน์ที่เป็นฟิล์ม สไลด์ และรูปภาพ

7.3. Mid 1920s to 1930s

7.3.1. Radio broadcasting, Sound recordings, Sound motion pictures : วิทยุ เครื่องบันทึกเสียง และเริ่มมีภาพเคลื่อนไหวประกอเสียง

7.4. World War II

7.4.1. Training films, Overhead projector, Slide projector, Audio equipment, Simulators and training devices : เครื่องฉายแผ่นใส, เครื่องฉายสไลด์, เครื่องเสียง, ซิมูเลเตอร์และอุปกรณ์การฝึกอบรม

7.5. Post World War II

7.5.1. Communication medium : สื่อในกรสื่อสารเริ่มมีการพัฒนา ให้ความสนใจในเสียงและภาพเคลื่อนไหว

7.6. 1950s to mid-1960s

7.6.1. Television : มีการเจริญเติบโตของการเรียนการสอนทางโทรทัศน์

7.7. 1950s-1990s

7.7.1. Computer : เกิด CAI หรือ Computer-assisted instruction มการวิจัยเกิดขึ้นในปี 1950 และกลายเป็นที่นิยมในช่วงปี 1980 หลังจากคอมพิวเตอร์ให้บริการแก่ประชาชนทั่วไป

7.8. 1990s-2000s

7.8.1. Internet, Simulation : การเรียนและการอบรมทางออนไลน์เป็นที่นิยมมากขึ้น และมีการใช้ web-based learning และSimulations หรือการจำลองต่างๆ มีการนำมาใช้มากขึ้น แต่ที่มีประสิทธิภาพและราคาสูงนั้นยังถูกใช้ในทางการแพทย์และทางการทหาร

7.9. 2000s-2010s

7.9.1. Mobile Devices, Social Media : การเรียนรู้เริ่มพัฒนาให้รองรับการใช้งานได้โยใช้โทรศัพท์มือถือและสื่อออนไลน์ กล่าวคือการเรียนรู้ถูกสร้างให้เกิดความใกล้ชิดกับผู้ใช้มากขึ้น

8. โมเดลการออกแบบระบบการเรียนการสอน

8.1. โมเดลการออกแบบระบบการเรียนการสอน ประกอบด้วยขั้นตอนต่างๆ ในการออกแบบระบบการเรียนการสอน ซึ่งมักจะเขียนในรูปแบบของผังแสดงลำดับการทำงาน โมเดลที่เป็นที่ชอบใช้กัน มีหลายโมเดล และเรียกชื่อตามผู้ที่คิดรูปแบบนั้น

8.1.1. โมเดลระบบการเรียนการสอนของ Reiser และ Dick

8.1.2. โมเดลระบบการเรียนการสอนของ Gerlach และ Ely

8.1.3. โมเดลระบบการเรียนการสอนของ Kemp, Morrison และ Ross

8.1.4. โมเดลระบบการเรียนการสอนของ Seels และ Glasgow

8.1.5. โมเดลระบบการเรียนการสอนของ Lesshin, Pollock และ Reigeluth

8.1.6. โมเดลระบบการเรียนการสอนของ Smith และ Ragen

8.1.7. โมเดลระบบการเรียนการสอนของ Dick and Carey

8.1.8. โมเดลระบบการเรียนการสอนของ IDI