บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม เทคโนโลยีและการสื่อ สารทางการศึกษา

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม เทคโนโลยีและการสื่อ สารทางการศึกษา by Mind Map: บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม  เทคโนโลยีและการสื่อ สารทางการศึกษา

1. สภาพปัจจุบันเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนมีความซับซ้อนมากกว่าแต่ก่อนและมีความต้องการนวัตกรรมการเรียนรู้ที่มีความซับซ้อนมากกว่าแต่ก่อน และมีความต้องการนวัตกรรมการเรียนรู้ที่มีความเหมาะสมกับการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้การออกแบบการสอนจะนำเนื้อหา ความรู้มาแบ่งออกเป็นส่วนย่อยๆ และเน้นการเรียนรู้ตามลำดับขั้นตอนนอกจากนั้นการวัดและการประเมินผลการเรียนก็เน้นที่การจดจำตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้มากกว่าการประเมินสภาพความสำเร็จที่แท้จริงของผู้เรียนให้การพัฒนาด้านการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ การแสดงความคิดเห็นการแก้ปัญหาและการแสวงหาความรู้ของผู้เรียนยังปรากฏเห็นได้น้อยดังนั้นแนวคิดเกี่ยวกับปรัชญาความรู้ (Epistemology) ที่จะนำมาใช้พื้นฐานในการออกแบบการสอนปัจจุบันจึงมุ่งมาสู่คอนสตรัคติวิสต์(Constructivism) ที่เชื่อว่าความรู้นั้นเป็นสิ่งที่ไม่จริงแท้เปลี่ยนแปลงได้

2. 3.2

2.1. หลักการเลือกและใช้นวัตกรรมเทคโนโลยและการสื่อสารทางการศึกษา

2.2. การเลือกและการใช้เป็นกระบวนการที่สำคัญของครูนอกจากผู้สอนจะสามารถออกแบบนวัตกรรมการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพแล้ววิธีการ สอนแบบนวัตกรรมไปใช้ตลอดจนเลือกคุณลักษณะของสื่อและเทคโนโลยีให้เหมาะสมก็เป็นอีกหลักการที่สำคัญ

2.3. การวิเคราะห์ผู้เรียน (Analyze Learner Characteristics)

2.3.1. ขั้นตอนแรกในการวางแผนการเลือกใช้สื่อ ก็คือการระบุเกี่ยวกับผู้เรียนที่เราจะสอน หลักในการ วิเคราะห์ผู้สอนจะต้องพิจารณา ประกอบด้วย

2.3.1.1. 1. คุณลักษณะทั่วไป จ านวนผู้เรียน ระดับชั้น อายุ เพศ สถานภาพทางสังคมและเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ชาติพันธุ์ ฯลฯ

2.3.1.2. 2. สมรรถนะเฉพาะที่มีมาก่อน ความรู้เดิมของผู้เรียน ทักษะทางปัญญา ความเข้าใจที่ คลาดเคลื่อนที่เกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน

2.3.1.3. 3. แบบการเรียน (Learning Styles)

2.4. การกำหนดวัตถุประสงค์ (State Objectives)

2.4.1. ขั้นตอนที่ 2 ในการวางแผนการเลือกใช้สื่อ ก็คือ การอธิบายสิ่งที่ผู้สอนจะต้องทำการเรียนรู้ สิ่งที่ผู้สอนต้องตระหนัก ซึ่งในการจัดการเรียนการสอนหรือการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ จะต้องมีการกำหนดวัตถุประสงค์ที่เฉพาะ โดยกำหนดวัตถุประสงค์นั้นต้องมีความชัดเจนว่า ผู้เรียนต้องได้รับอะไร

2.5. การเลือกวิธีการสื่อและวสัดุ (Select Method, Media and Materials)

2.5.1. หลังจากที่ได้วิเคราะห์ผู้เรียนและกำหนดวัตถุประสงค์การเรียนรู้ชัดเจนแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือการเเลือกสื่อ และวิธีการรวมทั้งวัสดุเพื่อการเรียนรู้ที่ตอบสนอง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพผู้สอนควรเลือกวิธีการสอนที่สามารถทำ ให้บรรลุวัตถุประสงค์ได้อย่างเหมาะสมการเลือกสื่อการเรียนรู้จะต้องสอดคล้องกับวิธีการสอน วัตถุประสงค์ของผู้เรียน ทั้งในรูปแบบของข้อความ ภาพนิ่ง วิดีทัศน์ เสียง และคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย

2.6. การตอบสนองที่มาจากผู้เรียน (Require Learner Response)

2.6.1. การจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพนั้นผู้สอนควรดำเนินการจัดเตรียมความพร้อมและสิ่งที่จะสนับสนุน การจัดประสบการณ์เรียนรู้ของผู้เรียนให้บรรลุเป้าหมาย และเกิดการเรียนรู้ ความพร้อมของผู้เรียนและ กระบวนการตามบทเรียนที่วางไว

2.7. การประเมินผลและการปรับ (Evaluation and revise)

2.7.1. ดังงนั้นการเรียนรู้สื่อและวิธีการที่ใช้จะต้องมีการระบุสิ่งที่ผู้เรียนต้องปฏิบัติกิจกรรมทั้งด้านความรู้ และทักษะในการปฏิบัติด้วย เช่น การจัดกลุ่ม การสะท้อนผล การเรียนรู้ด้วยตนเอง เป็นต้น

3. การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม เทคโนโลยีและการสื่อสารทางการศึกษา

4. แนวคิดของ Richey and Klein(2007) ซึ่งประกอบด้วย 3 กระบวนการ คือแนวคิดของ Richey andKlein(2007) ซึ่งประกอบด้วย 3 กระบวนการ คือ

4.1. กระบวนการออกแบบ (Design Process)

4.1.1. กระบวนการออกแบบมีจุดมุ่งหมายเพื่อออกแบบและพัฒนานวัตกรรม เทคโนโลยีและการสื่อสารทางการศึกษาประกอบด้วย การทบทวน วรรณกรรมการศึกษาสภาพบริบทการสังเคราะห์กรอบแนวคิดเชิงทฤษฎี สังเคราะห์กรอบแนวคิดการออกแบบ

4.2. กระบวนการพัฒนา (Development process)

4.2.1. กระบวนการพัฒนามีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างและทดลองใช้การสมบูรณ์ ผู้มีส่วนร่วมในการพัฒนาใช้ในบริบทจริงมีการปรับปรุงองค์ประกอบของนวัตกรรมฯให้ สมบูรณ์ ผู้มีส่วนร่วมในการพัฒนา ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญด้านทฤษฎี(Theorists) ผู้ออกแบบ (Designers) ผู้พัฒนา (Developers) ผู้ประเมิน (Evaluator) ผู้วิจัย (Researchers) ผู้สอน(Teacher) และผู้เรียน (Learners)

4.3. กระบวนการประเมิน (Evaluation process)

4.3.1. ระบวนการประเมินเป็นกระบวนการที่อธิบายให้เห็นคุณภาพและประเมิน ประสิทธิภาพของนวัตกรรมที่สร้างขึ้นโดยการประเมินผลนี้จะมุ่งเน้นบนพื้นฐานการ ประเมินตามสภาพจริง ที่ต้องการนำผลที่ได้นั้นมาพัฒนคุณภาพของการเรียนรู้ แลพเพื่ออธิบายว่านวัตกรรมนั้นช่วยยกระดับคุณภาพการเรียนรู้ได้อย่างไร

5. 3.1