1. หลักการเลือกและใช้นวัตกรรม
1.1. ASSURE Model เป็นกระบวนการที่แนะแนวทางในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ที่มี บูรณาการเทคโนโลยีและสื่อลงในกระบวนการจัดการเรียนรู้ ซึ่งประกอบด้วย 6 ขั้นตอน
1.1.1. 1)การวิเคราะห์ผู้เรียน (Analyze Learner Characteristics)
1.1.1.1. 1. คุณลักษณะทั่วไป จำนวนผู้เรียน ระดับชั้น อายุ เพศ
1.1.1.2. 2. สมรรถนะเฉพาะที่มีมาก่อน ความรู้เดิมของผู้เรียน
1.1.1.3. 3. แบบการเรียน (Learning Styles)
1.1.2. 2)การก าหนดวัตถุประสงค์(State Objectives)
1.1.2.1. การอธิบายสิ่งที่ผู้สอนจะต้องทำการเรียนรู้ สิ่งที่ผู้สอนต้องตระหนัก
1.1.2.2. มุ่งเน้นผู้เรียน (ไม่ใช่ผู้สอน)
1.1.3. 3)การเลือกวิธีการ สื่อ และวัสดุ (Select method, Media and Materials)
1.1.3.1. การเลือกสื่อควรเลือกบนพื้นฐานความต้องการของผู้เรียน
1.1.3.2. การเลือกสื่อควรเลือกจะต้องสอดคล้องกับสถานการณ์การเรียนรู้ทั้งกระบวนการ
1.1.3.3. การเลือกสื่อควรเป็นไปตามวัตถุประสงค์การเรียนรู้
1.1.3.4. การเลือกสื่อควรสอดคล้องกับความสามารถของผู้เรียนและแบบการเรียน
1.1.3.5. การเลือกสื่อควรพิจารณาว่าสื่อที่ดีที่สุดที่สามารถทำให้บรรลุการเรียนรู้
1.1.3.6. สื่อเพียงชนิดเดียวไม่เพียงพอทำให้เกิดผลลัพธ์การเรียนรู้ได้
1.1.3.7. จะต้องสอดคล้องกับหลักสูตร
1.1.3.8. จะต้องช่วยกระตุ้นแรงจูงใจและความสนใจในการเรียนรู้
1.1.3.9. ต้องค านึงถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของสื่อ
1.1.3.10. เป็นสื่อที่มีคุณภาพในเชิงเทคนิคที่ช่วยในการเรียนการสอน
1.1.4. 4)การใช้วิธีการ สื่อและวัสดุ (Utilize method , Media and Materials)
1.1.4.1. ผู้สอนจะต้องเตรียมความพร้อมของสื่อให้มีความสอดคล้องกับกระบวนการ จัดการเรียนรู้ ตามแผนที่ได้ออกแบบไว้
1.1.4.1.1. ผู้สอนอาจแบ่งเป็น 3 ช่วง
1.1.5. 5)การตอบสนองที่มาจากผู้เรียน (Require Learner Response)
1.1.5.1. การเรียนรู้สื่อและวิธีการที่ใช้จะต้องมีการระบุสิ่งที่ผู้เรียนต้องปฏิบัติกิจกรรมทั้งด้านความรู้ และทักษะในการปฏิบัต
1.1.5.1.1. การเริ่มกิจกรรมและการถามปัญหา
1.1.5.1.2. ดำเนินตามกิจกรรมและการถามปัญหา
1.1.5.1.3. ลงมือปฏิบัติกิจกรรม
1.1.5.1.4. การพัฒนาทักษะเข้าสู่การปฏิบัติ
1.1.6. 6)การประเมินและการปรับ (Evaluation and revise)
1.1.6.1. การประเมินความสามารถของผู้เรียน (Evaluate Student Performance)
1.1.6.2. การประเมินองค์ประกอนของสื่อการเรียนรู้ (Evaluate Media Components)
1.1.6.3. การประเมินความสามารถของผู้สอน (Evaluate instructor Performance)
2. การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม
2.1. ยึดเพียงเฉพาะหลักการทฤษฎีบนพื้นฐานที่มุ่งเน้นการถ่ายทอดเนื้อหา สาระความรู้
2.1.1. ปรัชญาวัตถุนิยม
2.2. การออกแบบการสอนจะนำเนื้อหา ความรู้มาแบ่งออกเป็นส่วนย่อยๆ และเน้นการ เรียนรู้ตามลำดับขั้นตอน
2.3. นอกจากนั้นการวัดและการประเมินผลการเรียนก็เน้นที่การจดจำตามวัตถุประสงค์
2.4. การแก้ปัญหาและการแสวงหาความรู้ของผู้เรียนยังปรากฏเห็นได้น้อย
2.5. เน้นการ ไตร่ตรองไม่ใช่การจำและมุ่งเน้นการเรียนให้คิด
2.6. พุทธิปัญญาในสภาพจริง (Situating Cognitive Experiences)
2.6.1. ส่งผลให้เกิดการเรียนรู้ที่ปราศจากบริบท (Decontextualization of Learning)
2.6.1.1. ไม่สอดคล้องกับคุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
3. หลักการออกแบบและพัฒนานวัตกรรม
3.1. กระบวนการออกแบบ
3.1.1. มีจุดมุ่งหมายเพื่อออกแบบและพัฒนานวัตกรรม เทคโนโลยีและการสื่อสารทางการศึกษา
3.1.2. ขั้นตอนที่ 1 การทบทวนวรรณกรรม (Literature review)
3.1.3. ขั้นตอนที่ 2 การศึกษาสภาพบริบท (Contextual study)
3.1.3.1. ด้านคุณลักษณะของผู้เรียน
3.1.3.2. ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
3.1.3.3. ด้านเนื้อหาวิชา
3.1.3.4. ด้านเทคโนโลยี
3.1.4. ขั้นตอนที่ 3 การสังเคราะห์กรอบแนวคิดเชิงทฤษฎี
3.1.5. ขั้นตอนที่ 4 การสังเคราะห์กรอบแนวคิดการออกแบบ
3.1.5.1. หลักการ
3.1.5.2. ทฤษฎี
3.1.5.3. องค์ประกอบ
3.2. กระบวนการพัฒนา
3.2.1. มีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างและพัฒนา นวัตกรรม เทคโนโลยีและการสื่อสารทางการศึกษาที่สมบูรณ์
3.2.2. การสร้างนวัตกรรม
3.2.3. การทดลองใช้ในบริบทจริง
3.3. กระบวนการประเมิน
3.3.1. เป็นกระบวนการที่อธิบายให้เห็นคุณภาพ และประเมิน ประสิทธิภาพของนวัตกรรมที่สร้างขึ้น โดยการประเมินผลนี้จะมุ่งเน้นบนพื้นฐานการ ประเมินตามสภาพจริง
3.3.1.1. 1)การประเมินด้านผลผลิต
3.3.1.2. 2)การประเมินบริบทการใช้
3.3.1.3. 3)การประเมินความสามารถด้านสติปัญญา
3.3.1.4. 4)การประเมินด้านความคิดเห็น
3.3.1.5. 5)การประเมินผลสัมฤทธิ์