1. ระบบขับถ่าย
1.1. โครงสร้างของระบบขับถ่าย
1.1.1. อวัยวะหลักในการขับถ่ายของเสีย
1.1.1.1. ไต
1.1.1.1.1. กำจัดของเสีย
1.1.1.1.2. รักษาสมดุลของน้ำ แร่ธาตุ และสารบางชนิด
1.2. การทำงานของระบบขับถ่าย
1.2.1. กำจัดของเสียที่ร่างกายไม่ต้องการเพราะเป็นอันตรายต่อร่างกาย
1.2.1.1. กำจัดออกทางไต
1.2.1.2. กำจัดออกทางผิวหนัง
2. ระบบสืบพันธ์ุ
2.1. โครงสร้างของระบบสืบพันธ์ุ
2.1.1. ระบบสืบพันธ์ุเพศชาย
2.1.1.1. อัณฑะ
2.1.1.2. หลอดเก็บอสุจิ
2.1.1.3. ท่อปัสสาวะ
2.1.1.4. ต่อมสร้างน้ำเลี้ยงอสุจิ
2.1.1.5. ต่อมลูกหมาก
2.1.1.6. ต่อมคาวเปอร์
2.1.2. ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
2.1.2.1. รังไข่
2.1.2.2. มดลูก
2.1.2.3. ท่อนำไข่
2.1.2.4. ปากมดลูก
2.2. การทำงานของระบบสืบพันธ์ุ
2.2.1. เกิดขึ้นเมื่อมีการทำงานร่วมกันของอัณฑะ และรังไข่ เพื่อทำหน้าที่ในการสืบพันธ์ุ
2.3. โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
2.3.1. ความหมายของโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
2.3.1.1. คือ โรคติดเชื้อที่เกิดจากการสัมผัสทางเพศ เชื้อโรคจะติดต่อจากบุคคลหนึ่งไปยังอีกบุคคลหนึ่งโดยผ่านทางเลือด น้ำอสุจิ สารคัดหลั่ง
2.3.2. วิธีป้องกันตนเองและหลีกเลี่ยงจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
2.3.2.1. การไม่มีเพศสัมพันธ์
2.3.2.2. ฉีดวัคซีนป้องกันการติดเชื้อ
2.3.2.3. ใช้ถุงยางอนามัย
3. ระบบหมุนเวียนเลือด
3.1. โครงสร้างของระบบหมุนเวียนเลือด
3.1.1. ประกอบด้วยอวัยวะที่สาคัญ
3.1.1.1. น้ำเลือด
3.1.1.2. หลอดเลือด
3.1.1.3. หัวใจ
3.2. การทำงานของระบบหมุนเวียนเลือด
3.2.1. ลำเลียงเลือดที่มีปริมาณแก๊สออกซิเจนสูงไปยังส่วนต่างๆของร่างกาย
3.2.2. รับเลือดที่มีแก๊สคาร์บอนไดออกไซต์จากส่วนต่างๆของร่างกายกลับสู่หัวใจ
4. ระบบย่อยอาหาร
4.1. โครงสร้างของระบบย่อยอาหารทางเดินอาหาร มีลักษณะเป็นท่อกลวงยาวติดต่อกัน
4.1.1. ปาก
4.1.2. คอหอย
4.1.3. หลอดอาหาร
4.1.4. กระเพาะอาหาร
4.1.5. ลำไส้เล็ก
4.1.6. ลำไส้ใหญ่
4.1.7. ทวารหนัก
4.2. การทำงานของระบบย่อยอาหาร
4.2.1. การย่อยเชิงกล
4.2.2. การย่อยเชิงเคมี
5. ระบบหายใจ
5.1. โครงสร้างของระบบหายใจ
5.1.1. ประกอบด้วยอวัยวะที่สาคัญ
5.1.1.1. ท่อที่เป็นทางเดินของอากาศ
5.1.1.1.1. โพรงจมูก
5.1.1.1.2. ปาก
5.1.1.1.3. หลอดลม
5.1.1.2. ปอด
5.1.1.3. กะบังลม
5.2. การทำงานของระบบหายใจ
5.2.1. นำแก๊สออกซิเจนเข้าสู่ร่างกาย
5.2.2. กำจัดแก๊สคาร์บอนไดออกไซต์ออกจากร่างกาย