Get Started. It's Free
or sign up with your email address
DQ by Mind Map: DQ

1. อัตลักษณ์ดิจิทัล Digital Identity

1.1. พลเมืองดิจิทัล Digital Citizen

1.1.1. การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างสม่ำเสมอและมีประสิทธิภาพเป็นคุณลักษณะเบื้องต้นของการเป็นพลเมืองในยุคดิจิทัลนอกจากนี้บุคคลผู้นั้นจะต้องมีทักษะและความรู้ ที่หลากหลายในการใช้อินเทอร์เน็ตผ่านอุปกรณ์และช่องทางการสื่อสารประเภทต่างๆ

1.2. ผู้ร่วมสร้างดิจิทัล Digital Co-Creator

1.2.1. ทำหน้าที่ในการช่วยบริหาร Video Content ภายใต้ Channel บน Streaming Platform ต่างๆ รวมไปจนถึงการพัฒนารูปแบบของวีดีโอ, การเป็นที่ปรึกษาในการผลิต Content, การบริหารจัดการ Channel, การเพิ่มยอดผู้ชม ตลอดจนการสร้างรายได้ให้กับเจ้าของวีดีโอผ่านการโฆษณาของสินค้าต่างๆ

1.3. ผู้ประกอบการดิจิทัล Digital entrepreneur

1.3.1. ป็นการมุ่งเน้นการสร้างธุรกิจด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลให้เกิดเป็นสินค้าและบริการบนพื้นฐานของการสร้างสรรค์นวัตกรรมผสมผสานเข้ากับการทำธุรกิจ

2. การเข้าถึงและความสามารถในการใช้ดิจิทัล Digital Use

2.1. การใช้เวลาหน้าจอ Screen Time

2.1.1. ช่วงเวลาที่เราใช้เครื่องมืออิเล็คทรอนิคที่มีหน้าจอสกรีน

2.2. สุขภาพ การแพทย์ดิจิทัล Digital Health

2.2.1. นวัตกรรมด้านสุขภาพและการใช้งานเทคโนโลยีสำหรับสุขภาพ ทำให้การดูแลสุขภาพกลายเป็นเรื่องใกล้ตัวมากขึ้น

2.3. การมีส่วนร่วมของชุมชน Community Participation

2.3.1. การมีส่วนร่วมของชุมชนนั้น จะต้องประกอบไปด้วยองค์กรหลักๆอยู่ 3 องค์กร คือ รัฐบาล (Government) ประชาชน (People) และชุมชน (Community) ซึ่งองค์กรชุมชนนั้นเป็นองค์กรพื้นฐานที่สำคัญของการเป็นรากฐานของประเทศ มีส่วนสำคัญอย่างยิ่งต่อการขับเคลื่อนและการพัฒนาสังคมให้ก้าวหน้าไป

3. การจัดการความปลอดภัยดิจิทัล Digital Safety

3.1. ความเสี่ยงจากพฤติกรรม Behavioral Risks

3.1.1. ความไม่แน่ใจในผลที่จะเกิดขึ้นจากการตัดสินใจซื้อ เป็นปัจจัยภายในซึ่งเป็นสิ่งหน่วงการตัดสินใจของผู้บริโภค เป็นสภาวะที่ผู้บริโภครับรู้หรือรู้สึกขึ้นมา

3.2. ความเสี่ยงจากเนื้อหา Content Risks

3.2.1. สารสนเทศน์ที่มีรูปแบบดิจิตอล โดยแสดงเนื้อหาผ่านสื่อดิจิตอลต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น โทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ โทรทัศน์ และโรงหนังซึ่งปัจจุบันนี้ใช้ระบบดิจิตอลเป็นหลัก

3.3. ความเสี่ยงจากการติดต่อพบปะ Contact Risks

3.3.1. สารสนเทศน์ที่มีรูปแบบดิจิตอล โดยแสดงโดยการพบปะผ่านสื่อดิจิตอลต่างๆ

4. ระบบความปลอดภัยดิจิทัล Digital Security

4.1. การป้องกันรหัสผ่าน Password Protection

4.1.1. Excel ถือว่าเป็นโปรแกรมที่มีการใช้ Password เพื่อรักษาความปลอดภัยหลายระดับ ตั้งแต่ภายในเซลล์, Workbook ไปจนถึงไฟล์ Excel และถ้ามีการใช้ Macro หรือ VBA ก็จะมี Password อีก Password แต่ละส่วนก็แยกออกจากกัน ทำให้บางคนอาจจะมึนไปเหมือนกันว่า ตกลงแล้วจะไปตั้ง Password ที่ไหนแน่

4.2. ระบบความปลอดภัยบนมือถือ Mobile Security

4.2.1. การจัดการระยะไกล ล็อค/ปลดล็อค รวมถึงสั่งล้างข้อมูลในมือถือทั้งหมดจากระยะไกล รักษาความปลอดภัยอุปกรณ์ ไม่จำเป็นต้องใช้เครื่องมืออย่างเช่น Mobile Device Management (MDM) ควบคุมการใช้งานแอพพลิเคชั่น ตรวจสอบแอพพลิเคชั่นบนอุปกรณ์และบล็อคการเข้าถึงแอพพลิเคชั่น ป้องกันการโจรกรรมข้อมูล รักษาความปลอดภัยข้อมูลบนอุปกรณ์ที่สูญหายหรือถูกขโมย

4.3. ระบบความปลอดภัยทางอินเทอร์เน็ต Internet Security

4.3.1. เครือข่ายมีระบบรักษาความปลอดภัยอย่างเข็มงวดแม้มืออาชีพก็ยากที่จะบุกรุก บางเครือข่ายอาจไม่มีระบบป้องกันใด ๆ แครกเกอร์มือสมัครเล่นอาจเข้าไปสร้างความยุ่งยากได้ ระบบคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่ในอินเทอร์เน็ตที่ทำหน้าที่เป็นตัวให้บริการข้อมูลมักทำงานภายใต้ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์

5. ความฉลาดทางอารมณ์ดิจิทัล Digital Emotional Intelligence

5.1. ความเอาใจใส่ เข้าใจความรู้สึก Empathy

5.1.1. การรับรู้และเกิดความเข้าใจในสถานการณ์ที่กำลังเกิดขึ้นกับอีกบุคคลหนึ่งอย่างแท้จริง อันเนื่องมาจากการเอาใจเขามาใส่ใจเรา ทำให้เข้าใจว่าคนนั้นรู้สึกต่อเรื่องนั้นยังไง (Feel the emotion) แต่ไม่ใช่เราไปรู้สึกตามต่อเรื่องนั้นที่ได้ยินได้ฟัง

5.2. การรับรู้/การควบคุมอารมณ์ Emotional Awareness/Regulation

5.2.1. เป็นความสามารถในการตอบสนองทางอารมณ์ต่อประสบการณ์ในรูปแบบที่สังคมยอมรับได้แต่ยืดหยุ่นพอที่จะเป็นปฏิกิริยาแบบฉับพลัน และเป็นความสามารถในการผัดผ่อนปฏิกิริยาแบบฉับพลันถ้าจำเป็น

5.3. การตระหนักรู้ทางสังคมและอารมณ์ Social&Emotional Awereness

5.3.1. วามสามารถของเด็กในการแสดงออกถึงการรับรู้เกี่ยวกับตนเองว่าเป็นส่วนหนึ่งของสังคมและสิ่งแวดล้อม การแสดงพฤติกรรมอย่างเหมาะสมในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างตนเองกับสังคมและสิ่งแวดล้อม เพื่อให้สามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข การจัดกิจกรรมเพื่อให้เด็กเกิดความตระหนักรู้ทางสังคมควรเริ่มจากเรื่องราวที่อยู่ใกล้ตัวไปสู่เรื่องราวที่ไกลตัวออกไป และควรเน้นการเรียนรู้จากสภาพการณ์ที่เกิดขึ้นจริง

6. การสื่อสารดิจิทัล Digital Communication

6.1. ร่องรอยเท้าดิจิทัล Digital Footprints

6.1.1. ร่องรอยการกระทำต่าง ๆ ที่ฝังหรือตามได้ในโลก Digital ของเรา ไม่ว่าจะเป็นข่าวที่พูดถึงเรา หรือ Blog, การโพสเว็บบอร์ด และ Digital Profile ต่าง ๆ

6.2. การสื่อสารออนไลน์ Online Communication

6.2.1. เป็นการใช้สื่อใหม่บนกลุ่มเป้าหมายใหม่ๆ มีการพูดคุยเสนอข่าวสารกับลูกค้าได้ทั้งทาง ข้อความ ภาพ เสียง วีดีโอ กราฟฟิก และเรายังสามารถติดตามลูกค้าได้ ทาง Social Media ต่างๆ

6.3. ความร่วมมือออนไลน์ Online Collaboration

6.3.1. คือซอฟต์แวร์โปรแกรมประยุกต์ที่ออกแบบขึ้นเพื่อช่วยให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องปฏิบัติภารกิจให้บรรลุเป้าหมาย หรือเป็นกระบวนการต่าง ๆ ของกลุ่มปฏิบัติงานประกอบกับการใช้ซอฟต์แวร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน

7. การรู้เท่าทันสื่อดิจิทัล Digital Literacy

7.1. การคิดเชิงคำนวณอย่างเป็นระบบ Computational Thinking

7.1.1. ป็นกระบวนการคิดที่ต้องใช้ทักษะและเทคนิคเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเช่นที่วิศวกรซอพท์แวร์ใช้ในการเขียนโปรแกรม

7.2. การสร้างสรรค์เนื้อหา Content Creation

7.2.1. เทคนิค ในการสร้างสรรค์ Content ที่มี “คุณค่า” กับกลุ่มเป้าหมาย โดยมีจุดประสงค์ให้กลุ่มเป้าหมายกลับมาสร้างรายได้ให้เรา

7.3. การคิดวิเคราะห์ Critical thinking

7.3.1. เป็นกระบวนการทางจิตสำนึกเพื่อวิเคราะห์ หรือ ประเมินข้อมูล ในคำแถลง หรือ ข้อเสนอที่มีผู้แถลงหรืออ้างว่าเป็นความจริง การคิดวิเคราะห์เป็นรูปแบบของกระบวนการที่สะท้อนให้เห็นความหมายของคำแถลง (statement) และการตรวจสอบหลักฐานที่ได้รับการไต่ตรองด้วยเหตุและผล แล้วจึงทำการตัดสินคำแถลงหรือข้อเสนอที่ถูกอ้างว่าเป็นความจริงนั้น

8. สิทธิดิจิทัล Digital Rights

8.1. เสรีภาพในการพูด Freedom of Speech

8.1.1. เป็นสิทธิการเมืองในการสื่อสารความคิดของบุคคลผ่านการพูด คำวา เสรีภาพในการแสดงออก บางครั้งใช้เป็นคำไวพจน์ แต่ยังรวมไปถึงพฤติการณ์ใด ๆ ในการแสวงหา ทั้งด้วยการพูด การแสดงท่าทาง

8.2. การคุ้มครองสิทธิของทรัพย์สินทางปัญญา Intellectual Property Rights

8.2.1. สิทธิทางกฎหมายที่ให้เจ้าของสิทธิ หรือ "ผู้ทรงสิทธิ" มีอยู่เหนือสิ่งที่เกิดจากความคิดสร้างสรรค์ทางปัญญาของมนุษย์

8.3. ความเป็นส่วนตัว Privacy

8.3.1. สิทธิที่จะอยู่ตามลำพัง และเป็นสิทธิที่เจ้าของสามารถที่จะควบคุมข้อมูลของตนเองในการเปิดเผยให้กับผู้อื่น สิทธินี้ใช้ได้ครอบคลุมทั้งปัจเจกบุคคล กลุ่มบุคคล และองค์การต่างๆ