Digital intelligence quotient

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
Digital intelligence quotient by Mind Map: Digital intelligence quotient

1. Digital Rights (สิทธิดิจิทัล)

1.1. หมายถึงความเข้าใจในสิทธิเฉพาะตัว และสิทธิทางกฎหมาย รวมไปถึงสิทธิความเป็นส่วนตัว ทรัพย์สินทางปัญญา เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น และหลีกเลี่ยงถ้อยคำแห่งความเกลียดชังของทั้งตัวเองและผู้อื่น

1.2. freedom of speech (เสรีในการพูด)

1.2.1. สิทธิที่เราสามารถที่จะแสดงออกหรือสื่อสารความรู้สึกนึกคิดหรือความเห็น ทั้งด้วยการพูด การแสดงท่าทาง หรือการสื่อสารด้วยตัวหนังสือ ไม่ว่าจะบนหน้ากระดาษหรือในโลกออนไลน์ ตลอดจนในรูปแบบอื่นๆ

1.3. Intellectual property rights (การคุ้มของสิทธิของทรัพย์สินทางปัฯา

1.4. Privacy (ความเป็นส่วนตัว)

2. Digital Literacy (การรู้เท่าทันสื่อดิจิทัล)

2.1. หมายความถึง ความสามารถในการค้นหา ประเมิน ใช้ประโยชน์ แบ่งปัน และสร้างสรรค์เนื้อหา รวมไปถึงความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ หรือ คิดเชิงประมวลผล (computational thinking)

2.2. Computational thinking (การคิดเชิงคำนวณอย่างเป็นระเบียบ)

2.2.1. เป็นกระบวนการคิดที่ต้องใช้ทักษะและเทคนิคเพื่อแก้ไขปัญหา

2.3. Content creation (การสร้างสรรค์เนื้อหา)

2.3.1. การสร้างสิ่งใหม่ๆที่มี่คุณค่า

2.4. Critical thinking (การคิดวิเคราะห์)

2.4.1. เป็นกระบวนการทางจิตสำนึกเพื่อวิเคราะห์ หรือประเมินข้อมูล ในคำแถลง หรือข้อเสนอที่มีผู้แถลงหรืออ้างว่าเป็นความจริง

3. Digital Emotional Intelligence (ความฉลาดทางอารมณ์ดิจิทัล)

3.1. กล่าวอีกนัยหนึ่งคือทักษะในการเข้าสังคมในโลกออนไลน์ เช่น การแสดงความเห็นอกเห็นใจ เสียใจ เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ยินดี สนุกสนาน ฯลฯ เพื่อสานสัมพันธ์กับผู้คนในโลกออนไลน์

3.2. Social & emotional awareness (การตระหนักรู็ทางสังคมและอารมณ์)

3.3. Emotional awareness / regulation (การรับรู้ / การควบคุมอารมณ์

3.4. Empathy (ความเอาใจใส่เข้าใจความรู้สึก)

4. Digital Security (ระบบความปลอดภัยดิจิทัล)

4.1. หมายความถึง การมีความสามารถในการตรวจสอบเบื้องต้นว่าตนเองมีภัยคุกคามในโลกไซเบอร์หรือไม่ เช่น การแฮกบัญชีผู้ใช้อีเมล์ เฟซบุ๊ก เครื่องมือสื่อสารติดไวรัสคอมพิวเตอร์ มัลแวร์ ถูกขโมยรหัสผ่าน แฮกบัญชีธนาคาร ฯลฯ และครอบคลุมไปถึงการป้องกัน การหลีกเลี่ยง และจัดการอย่างถูกวิธีเมื่อเจอภัยคุกคามหรือถูกละเมิดความปลอดภัยด้วย

4.2. Password protection (การป้องกันรหัสผ่าน)

4.3. Internet security (ระบบความปลอดภัยทางอินเทอร์เน็ต)

4.4. Mobile security (ระบบความปลอกภัยนอก)

5. Digital Safety (การจัดการความปลอดภัยดิจิทัล)

5.1. หมายถึงทักษะในการบริหารจัดการความเสี่ยงในโลกออนไลน์ เช่น การไม่ไปรังแกและสามารถจัดการกับการถูกรังแกบนโลกไซเบอร์ (Cyberbullying) ได้อย่างตลอดรอดฝั่ง รวมไปถึงการเกี้ยวพาราสี การเหยียดผิว-เหยียดชนชั้น รวมไปถึงเนื้อหาต่างๆ ที่สุ่มเสี่ยงเช่น เนื้อหาที่มีความรุนแรง โป๊เปลือย ลามกหยาบคายด้วย

5.2. Behavioral risks (ความเสี่ยงจากพฤติกรรม)

5.3. Content risks (ความเสี่ยงจากเนื่อหา)

5.4. Contact risks (ความเสี่ยงจากการติดต่อพบปะ)

6. Digital Use (การเข้าถึงและความสามารถในการใช้ดิจิทัล)

6.1. คือ ทักษะในการใช้เครื่องมือและสื่อในยุคดิจิตอล เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยสามารถสร้างสมดุลให้กับชีวิตออนไลน์และออฟไลน์ได้อย่างดี มิใช่ดังเช่นที่เห็นปัจจุบันคือ หลายคนถูกเทคโนโลยีใช้ มิใช่ใช้เทคโนโลยี

6.2. Screen time (การใช้เวลาหน้าจอ)

6.3. Digital health (สุขภาพ การแพทย์ดิจิทัล)

6.4. Community participation (การมีส่วนร่วมของชุมชน)

7. Digital Identity (อัตลักษณ์ดิจิทัล)

7.1. กล่าวคือ คนที่ใช้ชีวิตอยู่ในยุคดิจิตอลจะต้องมีทักษะในการสร้าง บริหารอัตลักษณ์และชื่อเสียงในโลกออนไลน์ของตัวเองให้เป็น ซึ่งนั่นรวมไปถึงการจัดการกับตัวตนในโลกออนไลน์ทั้งในระยะสั้น และระยะยาวด้วย

7.2. Digital citizen (พลเมืองดิจิทัล)

7.3. Digital co-creator (ผู้ร่วมสร้าดิจิทัล)

7.4. Digital entrepreneur (ผู้ประกอบการดิจิทัล)

8. กลุ่มที่ 6 19,23,31 ห้อง 3.3

9. Digital Communication (การสื่อสารดิจิทัล)

9.1. ความสามารถในการสื่อสาร ปฏิสัมพันธ์ และร่วมมือกับผู้อื่นโดยใช้เทคโนโลยีและสื่อดิจิตอล

9.2. online collaboration (ความร่วมมือออนไลน์)

9.3. online communication (การสื่อสารออนไลน์)

9.4. Digital footprints (ร่องรอยเท้าดิจิทัล)