digital intelligence quotient
by Su Priya Khueanphet
1. อัตลักษณ์ดิจิทัล
1.1. การจัดการกับตัวตนในโลกออนไลน์ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
1.2. พลเมืองดิจิทัล
1.3. ผู้ร่วมสร้างดิจิทัล
1.4. ผู้ประกอบการดิจิทัล
2. ความฉลาดทางอารมณ์ดิจิทัล
2.1. ทักษะในการเข้าสังคมในโลกออนไลน์
2.2. การตระหนักรู้ทางสังคมและอารมณ์
2.3. การรับรู้/การควบคุมอารมณ์
2.4. ความเอาใจใส่ เข้าใจความรู้สึก
3. การสื่อสารดิจิทัล
3.1. ความสามารถในการสื่อสาร ปฏิสัมพันธ์ และร่วมมือกับผู้อื่นโดยใช้เทคโนโลยีและสื่อดิจิตอล
3.2. ความร่วมมือออนไลน์
3.3. การสื่อสารออนไลน์
3.4. ร่องรอยเท้าดิจิทัล
4. การเข้าถึงและความสามารถในการใช้ดิจิทัล
4.1. เทคโนโลยีที่ใช้โดยเจ้าของลิขสิทธิ์ เพื่อควบคุมการเข้าถึงและการใช้งานข้อมูลดิจิทัล
4.2. การใช้เวลาหน้าจอ
4.3. สุขภาพ การแพทย์ดิจิทัล
4.4. การมีส่วนร่วมของชุมชน
5. สิทธิดิจิทัล
5.1. ความเข้าใจในสิทธิเฉพาะตัว สิทธิทางกฎหมาย และสิทธิความเป็นส่วนตัว เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น
5.2. เสรีภาพในการพูด
5.3. การคุ้มครองสิทธิของทรัพย์สินทางปัญญา
5.4. ความเป็นส่วนตัว
6. ระบบความปลอดภัยดิจิทัล
6.1. การมีความสามารถในการตรวจสอบเบื้องต้นว่าตนเองมีภัยคุกคามในโลกไซเบอร์และจัดการอย่างถูกวิธีเมื่อเจอภัยคุกคาม
6.2. การป้องกันรหัสผ่าน
6.3. ระบบความปลอดภัยทางอินเทอร์เน็ต
6.4. ระบบความปลอดภัยบนมือถือ
7. การรู้เท่าทันสื่อดิจิทัล
7.1. ความสามารถในการค้นหา ประเมิน ใช้ประโยชน์ แบ่งปัน สร้างสรรค์เนื้อหา และคิดอย่างเป็นระบบ
7.2. การคิดเชิงคำนวณอย่างเป็นระบบ
7.3. การสร้างสรรค์เนื้อหา
7.4. การคิดวิเคราะห์
8. การจัดการความปลอดภัยดิจิทัล
8.1. ทักษะในการบริหารจัดการความเสี่ยงในโลกออนไลน์
8.2. ความเสี่ยงจากพฤติกรรม
8.3. ความเสี่ยงจากเนื้อหา
8.4. ความเสี่ยงจากการติดต่อพบปะ
9. รายชื่อผู้จัดทำ ด.ญ.สุปรียา เขื่อนเพชร เลขที่18 ม.3.2 ด.ญ.กัลยาณี พรมมาลี เลขที่21 ม.3.2 ด.ญ.ชิตยาภรณ์ ยาสมุทร เลขที่24 ม.3.2 ด.ญ.พิมพิศา คีรีแก้ว เลขที่ 28 ม.3.2