1. ชนิดของสื่อกลางส่งข้อมูล
1.1. สื่อกลางส่งข้อมูลแบบใช้สาย
1.1.1. 1.สายคู่บิดเกลียว
1.1.1.1. ทำด้วยสายทองแดง 2 เส้น แต่ละเส้นจะมี ฉนวนหุ้มพันกันเป็นเกลียว เพื่อป้องกันการ รบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
1.1.2. 2. สายโคแอกซ์
1.1.2.1. ประกอบด้วยตัวนำที่ใช้ในการส่งข้อมูลเส้นหนึ่ง อยู่ตรงกลางอีกเส้นหนึ่งเป็นสายดิน ระหว่าง ตัวนำสองเส้นนี้จะมีฉนวนพลาสติกกั้น
1.1.3. 3.สายใยแก้วนำแสง
1.1.3.1. ทำจากแก้วหรือพลาสติกที่มีลักษณะเป็นเส้นบางๆคล้ายเส้นใยแก้ว จะทำตัวเป็นสื่อในการ ส่งแสงเลเซอร์ที่มีความเร็วในการส่งสัญญาณเท่ากับความเร็วของแสง
1.2. สื่อกลางส่งข้อมูลแบบไร้สาย
1.2.1. 1. คลื่นวิทยุ
1.2.1.1. เป็นสื่อกลางการสื่อสารแบบไร้สายที่สามารถแพร่ได้บนระยะทางไกล มีความเร็วค่อนข้างต่ำ ไวต่อสัญญาณรบกวน มีความยืดหยุ่นสูง สะดวกต่อการใช้งาน และไม่เสียค่าใช้จ่าย
1.2.2. 2.คลื่นไมโครเวฟ
1.2.2.1. เป็นคลื่นความถี่วิทยุชนิดหนึ่ง เนื่องจาก หน่วยวัดความถ่ของคลื่นเป็น ไมโครเมตร จึงเรียกว่า คลื่นไมโครเวฟ คลื่ยไมโครเวฟไม่ สามารถเลี้ยวโค้งได้ จึงต้องมีสถานีรับ-ส่ง ข้อมูลเป็นระยะๆในที่สูง เหมาะกับการส่ง ข้อมูลในพื้นที่ห่างไกลมากๆ
1.2.3. 3.สัญญาณดาวเทียม
1.2.3.1. เป็นการรับส่งสัญญาณข้อมูลอาจจะเป็นแบบจุดต่อจุด หรือ แบบแพร่สัญญาณ สถานีดาวเทียม 1 ดวง สามารถมีเครื่องทบทวนดาวเทียมได้มากถึง 25 เครื่อง และสามารถครอบคลุมพื้นที่ส่งสัญญาณได้ถึง 1 ใน 3 ของพื้นผิวโลก
1.2.4. 4.สัญญาณบลูทูธ
1.2.4.1. เป็นระบบการสือสารของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์แบบสองทางที่ใช้เทคนิกการส่งคลื่นวิทยุระยะสั้นระหว่างอุปกรณ์ต่างชนิดกัน ปัจจุบันระบบบลูทูธได้เข้ามาช่วยในการส่งถ่ายข้อมูลที่เป็นภาพ เสียง ได้สะดวกยิ่งขึ้น
1.2.5. 5.อินฟราเรด
1.2.5.1. เป็นคลื่นความถี่สั้น นิยมนำมาใช้งานสำหรับ การสื่อสารระยะใกล้ โดยมีอุปกรณ์หลายชิ้น ในปัจจุบัน เช่น รีโมทคอนโทรล เมาส์
1.2.6. 6.สัญญาณไวร์เลส
1.2.6.1. ใช้คลื่นวิทยุในการติดต่อสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ 2 เครื่องขึ้นไป รวมถึงในการ ติดต่อสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ด้วยเช่นกัน
2. การพิจารณาสื่อกลางการส่งข้อมูล
2.1. มีปัจจัยที่ควรพิจารณา ดังนี้
2.1.1. 1.ต้นทุน
2.1.2. 2.ความเร็ว
2.1.3. 3.ระยะทาง
2.1.4. 4.สภาพแวดล้อม
2.1.5. 5.ความปลอดภัยของข้อมูล
3. เกณฑ์วัดประสิทธิภาพเครือข่าย
3.1. 1.สมรรถนะ
3.2. 2.ความน่าเชื่อถือ
3.3. 3.ความปลอดภัย
4. ความรู้เกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูลเบื้องต้น
4.1. การสื่อสารข้อมูล คือ การถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกัน ระหว่างต้นทางกับ ปลายทาง โดยอาศัยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรือคอมพิวเตอร์ในการถ่ายโอน หรือ เคลื่อนย้ายข้อมูล และยังต้องอาศัยสื่อกลางในการนำข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง
5. องค์ประกอบพื้นฐานของระบบสื่อสารข้อมูล
5.1. 1. ผู้ส่งหรืออุปกรณ์ข้อมูล(Sender) และผู้รับและอุปกรณ์รับข้อมูล(Receiver)
5.1.1. Data Terminal Equipment(DTE)
5.1.1.1. เป็นแหล่งกำเนิดและรับข้อมูล เช่น คอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น
5.1.2. Data Communication Equipment(DCE)
5.1.2.1. เป็นอุปกรณ์ในการรับ/ส่งข้อมูล เช่น โมเด็ม จานดาวเทียม เป็นต้น
5.2. 2. โปรโตคอล หรือ ซอฟแวร์
5.2.1. โปรโตคอล
5.2.1.1. คือ วิะีการ หรือกฎระเบียบที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล เพื่อให้ผู้รับและผู้ส่งข้อมูลเข้าใจตรงกัน สามารถติดต่อสื่อสารกันได้
5.2.2. ซอฟแวร์
5.2.2.1. คือ ส่วนที่ทำหน้าที่ในการดำเนินงานในการสื่อสารข้อมูล ให้เป็นไปตามที่โปรแกรมกำหนด เช่น windows
5.3. 3. ข่าวสาร(Message)
5.3.1. คือ สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งผ่าไปในระบบ สื่อสาร บางครั้งเรียกว่า สารสนเทศ
5.3.2. มี 4 รูปแบบ
5.3.2.1. 3.1) เสียง (Voice)
5.3.2.2. 3.2) ข้อมูล (Data)
5.3.2.3. 3.3) ข้อความ (Text)
5.3.2.4. 3.4) รูปภาพ (Picture)
5.4. 4. สื่อกลาง(Medium)
5.4.1. เป็นสื่อกลางที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลจากต้นกำเนิดไปยังปลายทาง สื่อกลางนี้อาจจะเป็น เส้นลวด สายไฟ สายเคเบิล เป็นต้น หรืออาจจะเป็นคลื่นที่ส่งผ่านในอากาศ เช่น คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุ เป็นต้น
6. สื่อกลางส่งข้อมูล
6.1. 1. การส่งสัญญาณบนสื่อกลางแบบเบสแบนด์ (Baseband)
6.1.1. เป็นการใช้ช่องทางการสื่อสารเพียงช่องทางเดียวสำหรับการส่งสัญญาณดิจิทัลในแต่ละครั้งในช่วงเวลาหนึ่ง ไม่ซับซ้อน และจัดการควบคุมง่าย
6.2. 2. การส่งสัญญาณบนสื่อกลางแบบบรอดแบนด์ (Broadband)
6.2.1. เป็นการใช้ช่องทางการสื่อสารหลายช่องทางเพื่อส่งสัญญาณแอนะล็อก (Analog) มีระบบการจัดการที่ยุ่งยากกว่า รองรับความเร็วสูงกว่า และมีต้นทุนสูงกว่า