ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัยทางการศึกษา

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัยทางการศึกษา by Mind Map: ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัยทางการศึกษา

1. วิธีการแสวงหาความรู้ของมนุษย์

1.1. 1. การใช้ประสบการณ์ส่วนตัวหรือการลองผิดลองถูก

1.2. 2. ความรู้ที่ยากจะใช้ประสบการณ์ส่วนตัวหรือการลองผิดลองถูก

1.3. 3. ความรู้จากผู้เชื่ยวชาญหรือผู้ที่ได้รับการยกย่องจากสังคมว่าเชื่อถือได้

1.4. 4.การรับรู้จากขนบธรรมเนียมประเพณีหรือความเชื่อที่ได้รับการสืบทอดมาจากรุ่นสู่รุ่น

1.5. 5.การใช้ตรรกวิทยา ซึ่งเป็นการคิดอย่างมีเหตุผลที่ใช้ในการแสวงหาความรู้

1.5.1. 1.วิธีการอุมานวิธีการหาคำตอบที่เริ่มจาอข้อเท็ดจริงใหญ่ไปข้อเท็ดจริงย่อย

1.5.2. 2.วิธีการอุปมานวิธีการหาคำตอบที่เกิดากการรวบรวมข้อมูลย่อยมาจัดเป็นหมวดมู่

1.6. 6.การใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

1.6.1. ขั้นปัญหาหรือการตั้งปัญหา เป็นการกำหนอหัวข้อทิศทาง หรือขอบเขตของปัญหาให้ครอบคลุมและชัดเจน

1.6.2. ขั้นกำหนดสมมุติฐาน เป็นการทำนายหรือคาดคะเนคำตอบของปัญหาไว้ล่วงหน้า

1.6.3. ขั้นการรวบรวมข้อมูล เป็นการรวบรวมข้อเท็ดจริงที่ได้จากสิ่งที่ทำการศึกษาให้มากพอเพื่อที่จะให้ได้ข้อสรุปที่ครอบคลุม

1.6.4. ขั้นวิเคราห์ข้อมูลเป็นการนำข้อมูลจากขั้นการรวบรวมข้อมูลมาทดสอบสมมุติฐานว่าถูกต้องหรือเชื่อถือได้หรือไม่

1.6.5. ขั้นสรุปผลเป็นการสรุปผลที่ได้จากการวิเคราห์ข้อมูลในขั้นวิเคราห์ข้อมูล

2. ความหมายของการวิจัยทางการศึกษา

2.1. กระบวนการค้นคว้าหาความรู้ความจริง

2.2. การมีระบบแบบแผนที่เชื่อถือได้

2.3. นำความรู้ความจริงที่ได้หรือค้นพบนั้นมาแก้ปัญหา

2.4. การสร้างองค์ความรู้ใหม่

3. วัตถุประสงค์ของการวิจัยทางการศึกษา

3.1. เพื่อบรรยาย

3.1.1. ใคร

3.1.2. อะไร

3.1.3. ที่ไหน

3.1.4. เมื่อไร

3.1.5. อย่างไร

3.2. เพื่ออธิบาย

3.3. เพื่อทำนาย

3.4. เพื่อควบคุม

4. ความสำคัญแะประโยชน์ของการวิจัยทางการศึกษา

4.1. ผลการวิจัยสามารถนำไปใช้ในการกำหนดปัญหาหรือการพัฒนางาน

4.2. ผลการวิจัยสามารถใช้เป็นทางเลือกและปฎิบัติตามทางเลือกที่ดีที่สุด

4.3. ผลการวิจัยสามารถชี้ให้เห็นผลการปฎิบัติงาน

4.3.1. การวิจัยเชิงประเมินผล

4.3.2. การวิจัยเพื่อติดตามผลการทำงาน

4.4. ครูและผู้บริหารการศึกษาต้องค้นหาวิธีที่เหมาะสมในการพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนให้เต็มศักยภาพ

4.5. ผลการวิจัยสามารถนำไปใช้กำหนดนโยบายเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา

4.6. ผลการวิจัยนำไปใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน

4.7. ผลการวิจัยสามารถไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการจัดทำระบบสารสนเทศเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา

5. จรรยาบรรณของนักวิจัย

5.1. นักวิจัยต้องซื่อสัตย์และมีคุณธรรมในทางวิชาการและการจัดการ

5.2. นักวิจัยต้องตระหนักถึงพันธกรณีในการทำวิจัยตามข้อตกลงที่ทำไว้กับหน่วยงานที่สนับสนุนการวิจัยและต่อหน่วยงานที่ตนสังกัด

5.3. นักวิจัยต้องมีพื้นฐานความรู้ในสาขาวิชาที่ทำการวิจัย

5.4. นักวิจัยต้องมีความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ศึกษาวิจัยไม่ว่าจะเป็นสิ่งที่มีชีวิตหรือไม่มีชีวิต

5.5. นักวิจัยต้องมีอิสระทางความคิดโดยไม่มีอคติในทุกขั้นตอนของการทำวิจัย

5.6. นักวิจัยพึงนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในทางที่ชอบ

5.7. นักวิจัยพึงเคารพความคิดเห็นทางวิชาการของผู้อื่น

5.8. นักวิจัยพึงมีความรับผิดชอบต่อสังคมทุกระดับ