สารเคมีอันตราย

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
สารเคมีอันตราย by Mind Map: สารเคมีอันตราย

1. วัตถุระเบิด

1.1. ระเบิดได้ในทุกส่วน

1.2. การกระจายของสะเก็ดระเบิด

1.3. เสี่ยงเกิดเพลิงไหม้

1.4. ไม่อันตรายมากนักในการติดไฟหรือกระทบกระแทก

1.5. ไม่มีความไวในการระเบิด แต่เกิดความเสียหายแบบหมดทุกส่วน

1.6. ไม่มีความไวต่อการระเบิด ไม่ระเบิดทุกส่วน

2. ก๊าซ

2.1. ก๊าซเหลว

2.1.1. ไฮโดรเจน

2.1.2. มีเทน

2.1.3. อะเซทิลิน

2.2. ก๊าซไม่มีพิษและไม่ไวไฟ

2.2.1. ไนโตรเจน

2.2.2. ฮีเลียม

2.2.3. คลอโรไดฟลูออโรมีเทน

2.3. ก๊าซมีพิษ ระเบิดได้

2.3.1. คลอรีน

2.3.2. โบรอนไตรฟลูออไรด์

3. ของเหลวไวไฟ

3.1. ติดไฟได้ที่อุณหภูมิต่ำกว่า -18 oC

3.2. ติดไฟได้ที่อุณหภูมิสูงปานกลาง (-18 oC ถึง 23 oC)

3.3. ติดไฟได้ที่อุณหภูมิสูงกว่า 23 oC ถึง 60.5 oC

4. ของแข็งไวไฟ

4.1. ลุกไหม้ได้ง่าย

4.1.1. ผงกำมะถัน

4.1.2. ฟอสฟอรัสไตรซัลไฟด์

4.2. มีความเสี่ยงต่อการลุกไหม้เองได้

4.2.1. ฟอสฟอรัสขาว

4.3. ไวไฟเมื่อสัมผัสกับน้ำ

4.3.1. แคลเซียมคาร์ไบด์

4.3.2. โลหะโซเดียม

4.3.3. โพแทสเซียม

5. สารออกซิไดซ์ และออร์แกนิกเปอร์ออกไซด์

5.1. สารออกซิไดซ์

5.1.1. อะลูมิเนียมไนเตรท

5.1.2. แอมโมเนียมไนเตรท

5.1.3. โพแทสเซียมคลอเรท

5.2. สารออร์แกนิกเปอร์ออกไซด์

6. วัตถุมีพิษและแพร่เชื้อได้

6.1. วัตถุมีพิษ

6.1.1. อาร์เซนิกไตรออกไซด์

6.1.2. แบเรียมไซยาไนด์

6.1.3. ไดคลอโรมีเทน

6.2. วัตถุแพร่เชื้อได้

7. วัตถุกัมมันตรังสี

8. สารกัดกร่อน

8.1. กรดซัลฟิวริก

8.2. กรดไนตริก

8.3. กรดไฮโดรคลอริก

8.4. กรดฟอสฟอริก

8.5. โซเดียมไฮดรอกไซด์

9. วัตถุอันตรายอื่น

9.1. แอสเบสตอส

9.2. สังกะสีไฮโดรซัลไฟต์