1. 4.เทคโนโลยีท้องถิ่นและเทคโนโลยีนําเข้า
1.1. เทคโนโลยีท้องถิ่น
1.1.1. 1ภูมิปัญญาท้องถิ่น
1.1.1.1. 1.1ภูมิปัญญาท้องถิ่น (Local wisdom) หรือ ภูมิปัญญาไทย เป็นการสะสม องค์ความรู้ขึ้นมาจาก ประสบการณ์ของชีวิต สังคม และในสภาพแวดล้อม ที่แตกต่างกัน และมีการถ่ายทอดสืบ ต่อกันมา เป็นวัฒนธรรม
1.1.1.2. 1.2ระดับของเทคโนโลยีท้องถิ่น
1.1.1.2.1. เทคโนโลยีระดับต่ำ (Low technology)
1.1.1.2.2. เทคโนโลยีระดับกลาง (Intermediate technology)
1.1.1.2.3. เทคโนโลยีระดับสูง (High technology)
1.2. เทคโนโลยีที่นำเข้า
1.2.1. 1) เทคโนโลยีการเกษตร ที่จำเป็นต้องนำเข้าจาก ต่างประเทศ
1.2.2. 2) เทคโนโลยีชีวภาพ มีการนำเข้าเทคโนโลยีชีวภาพ จากต่างประเทศ
1.2.3. 3) เทคโนโลยีทางอุตสาหกรรม มีการนำเข้าเทคโนโลยี เกี่ยวกับอุตสาหกรรมเหล็ก อุตสาหกรรม เคมี
1.2.4. 4) เทคโนโลยีทางการแพทย์ เช่น เทคโนโลยีการผลิต และการพัฒนายาใหม่ เป็นต้น
1.2.5. 5) เทคโนโลยีการสื่อสาร โทรคมนาคม
1.2.6. 6) เทคโนโลยีการขนส่ง ได้แก่ การเดินรถ เช่น รถยนต์ รถไฟ รถไฟฟ้าการเดินเรือเป็นต้น
1.2.7. 7) เทคโนโลยีระดับสูง (ไฮเทค) ได้แก่ อิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
1.2.8. 8) เทคโนโลยีวัสดุศาสตร์ นับเป็นกำลังสำคัญ ในการผลักดันความก้าวหน้า ด้านอุตสาหกรรม
2. 5.เทคโนโลยีกับการพัฒนาประเทศ
2.1. เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ
2.2. เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาด้านด้านสังคม
2.2.1. เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยให้พัฒนาสังคมให้เกิดการเรียนรู้ที่สร้างสรรค์ เช่นโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เข้าไปช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสทางสังคมได้มีคอมพิวเตอร์ใช้ เช่นโรงเรียนชนบท คนป่วยเรื้อรังในโรงพยาบาลผู้ต้องขัง และคนตาบอดที่สามารถอ่านหนังสือได้ด้วยระบบ DAISY(Digital Accessible Information System)
2.2.2. เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทในด้านเศรษฐกิจโดยสามารถนำมาประยุกต์ ใช้ประโยชน์และเพิ่มขีดสามารถในการแข่งขันทั้งภาคการผลิตและบริการ ภาคการเงินการคลังทั้งภายใน ประเทศและเพื่อการส่งออก อีกทั้งยังประยุกต์ใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
2.3. เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาด้านศึกษา
2.3.1. .การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
2.3.2. การศึกษาทางไกล
2.3.3. เครือข่ายการศึกษา
2.3.4. การใช้งานในห้องสมุด
2.3.5. การใช้งานในห้องปฏิบัติการ
2.3.5.1. การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการจำลองสถานการณ์
2.4. เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาด้านสาธารณสุข
2.4.1. ด้านการลงทะเบียนผู้ป่วย
2.4.2. การสนับสนุนการรักษาพยาบาล
2.4.3. สามารถให้คำปรึกษาทางไกล
2.4.4. เทคโนโลยีสารสนเทศ
2.4.4.1. จะช่วยในการ ให้ความรู้แก่ประชาชนของแพทย์ หรือหน่วยงานสาธารณสุขต่างๆ เป็นไปด้วยความสะดวก รวดเร็ว
2.4.5. เทคโนโลยีสารสนเทศ
2.4.5.1. ช่วยให้ผู้บริหารสามารถกำหนดนโยบาย และ ติดตามกำกับการดำเนินงานตามนโยบายได้ดียิ่งขึ้น โดยอาศัยข้อมูลที่ถูกต้องฉับไว
2.4.6. ในด้านการให้ความรู้หรือการเรียน การสอนทางไกล
2.5. เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม
2.5.1. นำเอาเทคโนโลยีที่เรียกว่า GIS (Geographic Information System) เข้ามาจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลทางภูมิศาสตร์ โดยกำหนดข้อมูลด้านตำแหน่งที่ตั้งบนผิวโลก (ground position) ซึ่งรวบรวม จากแหล่งต่างๆ ทั้งข้อมูลพื้นที่ แผนที่ รูปถ่ายทางอากาศ ภาพถ่ายทางดาวเทียม เพื่อนำมาเป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาผังเมือง ประยุกต์ใช้งานทางด้านธรณีวิทยา การพยากรณ์อากาศและการควบคุมสิ่งแวดล้อม
3. 2.ความสัมพันธ์และบทบาทของเทคโนโลยี
3.1. ด้านการดํารงชีวิตประจําวัน
3.1.1. ในยุคปัจจุบันทุกคนล้วนใช้เทคโนโลยีเพื่ออำนวยความสะดวกในชีวิตในทุกๆ ด้าน ตั้งแต่การตื่นนอนจนถึงการเข้านอน ดังนั้นเทคโนโลยีจึงเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับมนุษย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่อาศัยอยู่ในเมืองที่ชีวิตประจำวันมีแต่ความเร่งรีบต้องแข่งขันกับเวลา
3.1.2. การนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง เพราะเทคโนโลยีสมัยใหม่นอกจากจะช่วยอำนวยความสะดวกในการทำงานแล้วยังช่วยย่นระยะเวลาทำกิจกรรมต่างๆ ให้สั้นลง
3.1.3. แต่หากมนุษย์เราพึ่งพาเทคโนโลยีมากจนเกินไป ก็อาจทำให้เกิดผลเสียแก่ตัวเราได้ด้วยเช่นกัน เพราะการพึ่งพาเทคโนโลยีมากเกินไปจะทำให้คนเราเกิดความเคยชินจากการนำเทคโนโลยีมาใช้อำนวยความสะดวกในชีวิต จนทำให้บางครั้งเราก็ทำอะไรไม่เป็นไม่สามารถคิดอะไรได้เพราะมีเทคโนโลยีมาช่วย และอาจส่งผลให้ในอนาคตมนุษย์จะมีความสามารถลดน้อยลง และเทคโนโลยีหรือเครื่องจักรต่าง ๆ ก็จะมีความสำคัญมากกว่ามนุษย์
3.1.4. จากที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่าเทคโนโลยีมีทั้งประโยชน์และโทษ ดังนั้นการใช้เทคโนโลยีที่ถูกวิธีจึงเป็นสิ่งที่สำคัญ และต้องไม่ใช้เทคโนโลยีในทางที่ผิดที่จะส่งผลให้เกิดความเสียหายต่อทั้งตนเองและผู้อื่น และในขณะเดียวกันมนุษย์เราก็จะต้องหันกลับมาพึ่งพาตัวเองบ้าง และใช้เทคโนโลยีเฉพาะเท่าที่จำเป็นเท่านั้น
3.2. ด้านสิ่งแวดล้อม
3.2.1. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศด้านสิ่งแวดล้อม มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมป้องกันและแก้ไขปัญหาทางด้านสิ่งแวดล้อม
3.2.2. ตัวอย่างใช้ดาวเทียมสำรวจทรัพยากรธรรมชาติบนพื้นผิวโลกและในมหาสมุทร (earth and ocean resources satellite) มีจุดประสงค์เพื่อใช้ศึกษาธรณีวิทยา พืชพรรณ ทรัพยากรสัตว์ป่า การเปลี่ยนแปลงของพื้นผิวมหาสมุทร และอื่นๆ เพื่อนำมาใช้ในการวางแผน ป้องกัน แก้ไขปัญหาต่างๆ
3.3. ด้านการพัฒนาประเทศ
3.3.1. เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ
3.3.1.1. เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทในด้านเศรษฐกิจโดยสามารถนำมาประยุกต์ ใช้ประโยชน์และเพิ่มขีดสามารถในการแข่งขันทั้งภาคการผลิตและบริการ ภาคการเงินการคลังทั้งภายใน ประเทศและเพื่อการส่งออก อีกทั้งยังประยุกต์ใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
3.3.2. เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาด้านด้านสังคม
3.3.2.1. เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยให้พัฒนาสังคมให้เกิดการเรียนรู้ที่สร้างสรรค์ เช่นโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เข้าไปช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสทางสังคมได้มีคอมพิวเตอร์ใช้ เช่นโรงเรียนชนบท คนป่วยเรื้อรังในโรงพยาบาลผู้ต้องขังและคนตาบอดที่สามารถอ่านหนังสือได้ด้วยระบบ DAISY(Digital Accessible Information System)
3.3.3. เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาด้านศึกษา
3.3.3.1. การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
3.3.3.2. การศึกษาทางไกล
3.3.3.3. เครือข่ายการศึกษา
3.3.3.4. การใช้งานในห้องสมุด
3.3.4. เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาด้านสาธารณสุข
3.3.4.1. ด้านการลงทะเบียนผู้ป่วย
3.3.4.2. การสนับสนุนการรักษาพยาบาล
3.3.4.3. สามารถให้คำปรึกษาทางไกล
3.3.4.4. ด้านการให้ความรู้หรือการเรียน
4. 1.เทคโนโลยีคืออะไร
4.1. เทคโนโลยี หรือ เทคนิควิทยา มีความหมายค่อนข้างกว้าง โดยทั่วไปหมายถึงธรรมชาติวิทยาและต่อเนื่องมาถึงวิทยาศาสตร์ มาเป็นวิธีการปฏิบัติและประยุกต์ใช้เพื่อช่วยในการทำงานหรือแก้ปัญหาต่าง ๆ อันก่อให้เกิดวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร แม้กระทั่งองค์ความรู้นามธรรมเช่น ระบบหรือกระบวนการต่าง ๆ เพื่อให้การดำรงชีวิตของมนุษย์ง่ายและสะดวกยิ่งขึ้น
4.2. ส่วนในความหมายของเทคโนโลยีเป็นการประยุกต์ นำเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ และก่อให้เกิดประโยชน์ในทางปฏิบัติแก่มวลมนุษย์ กล่าวคือ เทคโนโลยีเป็นการนำเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ ในการประดิษฐ์สิ่งดำที่สุดสูงสุด
4.3. เทคโนโลยีกับการพัฒนาอุตสาหกรรม
4.3.1. การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการผลิต ทำให้ประสิทธิภาพในการผลิตเพิ่มขึ้น ประหยัดแรงงาน ลดต้นทุนและ รักษาสภาพแวดล้อม
4.4. เทคโนโลยีกับการพัฒนาด้านการเกษตร
4.4.1. ใช้เทคโนโลยีในการเพิ่มผลผลิต ปรับปรุงพันธุ์ เป็นต้น เทคโนโลยีมีบทบาทในการพัฒนาอย่างมาก แต่ทั้งนี้การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนาจะต้องศึกษาปัจจัยแวดล้อมหลายด้าน เช่น ทรัพยากรสิ่งแวดล้อม
5. 3.ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นๆ
5.1. พลังงานและสิ่งแวดล้อม
5.1.1. พลังงาน หมายถึง ความสามารถในการทำงานที่มีอยู่ในตัวของสิ่งที่อาจให้งานได้
5.1.1.1. ทรัพยากรธรรมชาติที่ก่อให้เกิดพลังงาน เมื่อใช้แล้วสามารถเกิดทดแทนได้
5.1.1.2. พลังงานสิ้นเปลือง หมายถึงทรัพยากรธรรมชาติที่ก่อให้เกิดพลังงานแต่เมื่อใช้แล้วไม่สามารถเกิดทดแทนได้
5.1.2. สิ่งแวดล้อม หมายถึง ทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่รอบตัวเราทั้งที่เกิดเองตามธรรมชาติ และที่เกิดจากการสร้าขึ้นของมนุษย์
5.2. วิทยาศาสตร์
5.2.1. หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต รวมทั้งกระบวนการประมวลความรู้เชิงประจักษ์
5.3. เกษตรศาสตร์
5.3.1. คือ วิชาว่าด้วยการเกษตรกรรม
5.3.1.1. วิทยาศาสตร์การอาหาร
5.3.1.2. เศรษฐศาสตร์การเกษตร
5.3.1.3. คหกรรมศาสตร์
5.4. ศึกษาศาสตร์
5.4.1. คือการศึกษาว่าด้วยการสร้างพื้นฐานและความรู้ของการเป็นครู
5.5. แพทยศาสตร์
5.5.1. คือสาขาของวิทยาศาสตร์สุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการดูแลสุขภาพและเยียวยารักษาโรคหรืออาการเจ็บป่วย
5.5.1.1. กุมารเวชศาสตร์
5.5.1.2. นรีเวชศาสตร์
5.5.1.3. ศัลยศาสตร์
5.5.1.4. นิติเวชศาสตร์
5.6. โภชนศาสตร์
5.6.1. คือ วิทยาศาสตร์สุขภาพที่เกี่ยวข้องกับอาหาร และสุขภาพ วิทยาศาสตร์ทางอาหาร
5.6.1.1. อาหารเสริม
5.6.1.2. อาหารสำหรับผู้ป่วยในโรคต่างๆ