
1. มูลเหตุที่ทำให้ลูกหนี้ถูกฟ้องให้ล้มละลาย
1.1. ลูกหนี้บุคคลธรรมดามีหนี้สินอาจกำหนดจำนวนได้แน่นอนไม่น้อยกว่า 1 ล้านบาท
1.2. ลูกหนี้ซึ่งเป็นนิติบุคคลมีหนี้สินไม่น้อยกว่า2ล้านบาท
2. การยื่นฟ้อคดีล้มละลาย
2.1. เจ้าหนี้ไม่มีประกัน ตามมาตรา 9
2.2. เจ้าหนี้มีประกันตามมาตรา 9 ประกอบมาตรา 10
3. กระบวนการพิจารณาคดีล้มละลาย
3.1. เจ้าหนี้ยื่นฟ้องตามมาตรา9หรือมาตรา9ประกอบ10
3.1.1. เมื่อมีคำสั่งรับฟ้องคดีล้มละลาย ศาลกำหนดวันนั่งพิจารณาและออกหมายเรียกตามม.13
3.1.1.1. ลูกหนี้จะยื่นคำให้การในการต่อสู้หรือไม่ก็ได้
3.1.1.2. หากลูกหนี้ประสงค์จะยื่นสามารถยื่นได้ก่อนวันนัดพิจารณา การพิจารณาในคดีล้มละลายต้องพิจารณาเอาความจริงตามม.14
3.1.1.2.1. หากพิจารณาได้ความจริงศาลมีคำสั่งพิทักษ์เด็ดขาด ตามม.14
3.1.1.2.2. หากพิจารณาไม่ได้ความจริง/ลูกหนี้นำสืบได้ว่าสามารถชำระหนี้ได้/มีเหตุอื่นที่ไม่ควรให้ลูกหนี้ล้มละลายศาลต้องยกฟ้องตามม.14
3.2. เมื่อศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนี้ จพท.เพียงผู้เดียวมีอำนาจตามม.22
3.3. วันตรวจคำขอรับชำระหนี้ ตามม.104
3.4. จพท.เรียกประชุมเจ้าหนี้ครั้งแรกตามม.31
3.4.1. พิจารณาคำขอประนอมหนี้
3.4.2. ขอศาลพิพากษาล้มละลาย
3.4.3. ตกลงวิธีการจัดการทรัพย์สินของลูกหนี้
3.5. ศาลไต่สวนมูลฟ้องโดยเปิดเผยตามม.42
3.6. เมื่อศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด จพท.รายงานตามม.61และ62
3.6.1. การล้มละลายของลูกหนี้จะเริ่มนับตั้งแต่วันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ตามม.62
3.7. แบ่งปันทรัพย์สินของลูกหนี้ให้แก่เจ้าหนี้ทั้งหลายตามม.109,123-128,130
4. หน้าที่ของลูกหนี้เมื่อถูกพิทักษ์ทรัพย์
4.1. 1.ต้องไปสาบานตัวต่อจพท.และคำชี้แจงตามม.30(1)/30(2)
4.2. 2ขอให้จพท.กำหนดเงินเพื่อใช้จ่ายเลี้ยงชีพตามม.67(1)
4.3. 3.ต้องไปประชุมเจ้าหนี้ทุกครั้งและตอบคำถามจพท.ตามม.64
5. ข้อห้าม/กำจัดสิทธิเมื่อลูกหนี้ถูกพิทักษ์เด็ดขาด
5.1. 1.ห้ามลูกหนี้ออกนอกราชอาณาจักรเว้นแต่ละได้รับอนุญาตจาก จพท.
5.2. 2.ห้ามประกอบการค้า/ธุระกิจ ตามม.165(2)
5.3. 3.ห้ามลูกหนี้กระทำการฉ้อฉล ให้ เสนอให้ ตามม.166(2)
5.4. 4.ห้ามลูกหนี้กระทำการใดๆเกี่ยวกับทรัพย์สินของตนตามม.22+24
6. ลูกหนี้จะพ้นจากการล้มละลายได้ดังนี้
6.1. 1.การประนอมหนี้ก่อนล้มละลาย
6.1.1. ลูกหนี้ยื่นคำขอประนอมหนี้เป็นหนังสือต่อจพท.ตามม.45
6.2. 2การประนอมหนี้หลังล้มละลาย
6.2.1. การพิจารณาขอประนอมหนี้จพท.เรียกประชุมเจ้าหนี้เพื่อปรึกษาลงมติพิเศษ จพท.มีอำนาจขอให้ศาลเห็นชอบด้วยคำขอประนอมหนี้
6.2.1.1. หากศาลไม่เห็นชอบศาลจะพิพากษาให้ลูกหนี้ล้มละลาย
6.2.1.2. หากศาลเห็นชอบศาลจะมีคำสั่งยกเลิกการล้มละลายตามม.63ว.2