ความต้องการใช้สื่อสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
by Suppakorn Tumtong
1. การวิจัยครั้งนี้จะดำเนินการตามลำดับขั้นตอน ดังนี้ 6.1 ศึกษาค้นคว้าเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย 6.2 สร้างเครื่องมืองานวิจัย 6.2.1 สร้างแบบสอบถาม 6.2.2 ทดสอบแบบสอบถาม 6.2.3 ปรับปรุงและแก้ไขแบบสอบถาม 6.3 เก็บรวบรวมข้อมูล โดยแจกแบบสอบถามแก่กลุ่มตัวอย่าง 6.4 รวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถามและทำการวิเคราะห์ข้อมูล คิดคำตอบเป็นร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 6.5 สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูล 6.6 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
1.1. New Topic
2. 4.ขอบเขตของการวิจัย
2.1. 4.1 ขอบเขตด้านเนื้อหา มุ่งศึกษา ความต้องการใช้สื่อสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษา มหาวิทยาลัย ราชภัฏเชียงใหม่ ปีการศึกษา 2560 ในด้านต่างๆ ดังนี้ - ด้านความต้องการสื่อสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ - ควาคิดเห็นของนักศึกษาที่มีต่อการใช้สื่อสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ - ด้านปัญหา อุปสรรคในการใช้สื่อสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์
2.2. 4.2 ขอบเขตด้านประชากรหรือกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1-4 ที่ลงทะเบียนในภาคปกติ และกำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 21,673 คน
2.3. 4.3 ขอบเขตด้านตัวแปร ตัวแปรอิสระ คือ เพศ, ระดับการศึกษา ตัวแปรตาม คือ ศึกษาพฤติกรรมความต้องการใช้ สื่อสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
2.4. 4.4 ขอบเขตด้านเวลา ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2560
2.5. 4.5 ขอบเขตด้านพื้นที่ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
3. 5.นิยามศัพท์
3.1. 1.สิ่งพิมพ์ หมายถึง สมุด แผ่นกระดาษ หรือวัตถุใด ๆ ที่พิมพ์ขึ้น รวมตลอดทั้งบทเพลง แผนที่ แผนผัง แผนภาพ ภาพวาดภาพระบายสี ใบประกาศ แผ่นเสียง หรือสิ่งอื่นใดอันมีลักษณะ
3.2. 2. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง สื่อที่บันทึกสารสนเทศด้วย วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์อาจอยู่ในรูปของ สื่อบันทึกข้อมูลประเภทสารแม่เหล็ก เช่น แผ่นจานแม่เหล็กชนิดอ่อน และสื่อประเภท บันทึกอักขระแบบดิจิตอลไม่สามารถอ่านได้ด้วยตาเปล่า ต้องใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ บันทึกและอ่านข้อมูล
3.3. 3.ความต้องการ หมายถึง ความคาดหวังต่อความรู้ ความต้องการที่จะศึกษา
3.4. 4.นักศึกษา หมายถึง ผู้เรียนที่กำลังศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปีการศึกษา 2560
4. 7.เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
4.1. พัฒน์นรี อัฐวงศ์(2553) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ของนิสิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย วิทยาเขตแพร่
4.2. ยุพา แสงทอง (2550)การวิจัยเรื่อง พฤติกรรมการบริโภคสิ่งพิมพ์สื่ออิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง
4.3. น้ำฝน พิทักษาไพศาล (2548) ศึกษาวิจัยเรื่องการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการเรียนรู้กับการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
5. 6.วิธีการดำเนินงาน
5.1. New Topic
6. New Topic
7. New Topic
8. 1.ความเป็นมา
8.1. 1.1ในอดีตมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ได้ปรากฏศิลปะต่าง ๆ บนผนังถ้ำ เช่น ผลงานแกะสลักหิน และสลักผนังถ้ำเป็นรูปสัตว์ลายเส้น
8.2. 1.2ต่อมาในยุคประวัติศาสตร์ มนุษย์เริ่มมีการพัฒนา สร้างตัวอักษรตัวเขียนโดยใช้วิธีเขียนลงบนแผ่นไม้ ที่ทำจากต้นบีช และเริ่มบันทึกอักษรลงบนแผ่นไม้ และใบลานจนกระทั้ง
8.3. 1.3พ.ศ. 648 (ค.ศ.105)ชาวจีนชื่อไซลัน(Silan)ได้คิดค้นวิธีทำกระดาษ จนกระดาษได้กลายเป็นวัสดุสำคัญที่ใช้ในการบันทึกเรื่องราวต่าง ๆ มาจนถึงปัจจุบัน ในยุคปัจจุบัน อินเทร์เน็ตเข้ามามีบทบาทเปลี่ยนแปลงชีวิตประจำวันซึ่งเราปฏิเสธไม่ได้ว่าไม่มีใครในยุคนี้ที่จะไม่รู้จักเทคโนโลยีและอินเทอร์เน็ต และการบริโภคสื่อสิงพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิคส์ของประชาชนมีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะการบริโภคอินเตอร์เน็ต จึงเกิดยุคอ่านหนังสือจากหน้าจอคอมพิวเตอร์ หรือที่เรียกกันว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความต้องการ และพฤติกรรมความนิยมในการบริโภคเทคโนโลยีใหม่ ๆ ซึ่งมีความสะดวก รวดเร็ว ในการใช้งาน
9. 2.วัตถุประสงค์การวิจัย
9.1. 2.1 เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้สื่อสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษามหาวิทยาลัย ราชภัฏเชียงใหม่
9.2. 2.2 เพื่อศึกษาความต้องการใช้สื่อสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษามหาวิทยาลัย ราชภัฏเชียงใหม่
9.3. 2.3 เพื่อศึกษาปัญหาในการสื่อสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษามหาวิทยาลัย ราชภัฏเชียงใหม่
10. 3.ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
10.1. 3.1 ผลการวิจัยนี้ทำให้ทราบพฤติกรรมการใช้สื่อสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
10.2. 3.2 ผลการวิจัยนี้ทำให้ทราบความต้องการใช้สื่อสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
10.3. 3.3 ผลการวิจัยนี้ทำให้ทราบปัญหาในการสื่อสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
10.4. 3.4 ผลการวิจัยที่ได้จะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องใช้เป็นแนวทางในการวางแผน การปฏิบัติงาน
10.5. 3.5 ผลจากการวิจัยครั้งนี้ สามารถใช้เป็นแนวทางในการวางแผนปรับปรุงและพัฒนาสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ในมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
11. New Topic
11.1. New Topic
11.2. New Topic