Get Started. It's Free
or sign up with your email address
พยาน by Mind Map: พยาน

1. พยานหลักฐานในสำนวนคดี

1.1. พยานหลักฐานที่ผ่านกระบวณการนำสืบเข้ามาในสำนวนคดีอย่างถูกต้องตามหลักกฎหมาย

1.2. พยานหลักฐานที่ไม่ต้องห้ามตาม ป.วิ.พ ม.84

2. การชั่งน้ำหนักพยานหลักฐาน

2.1. หลักเฉพาะ

2.1.1. พยานบอกเล่า พยานซักทอด

2.1.2. พยานหลักฐานประกอบ

2.2. หลักทั่วไป

2.2.1. อย่าพิพากษาลงโทษ จนกว่าจะแน่ใจว่ามีความผิดจริง และจำเลยเป็นผู้กระทำความผิดนั้น

2.2.2. เมื่อมีความสงสัยตามสมควร ให้ยกประโยชน์แห่งความสงสัยนั้นให้จำเลย

3. พยานหลักฐานที่รับฟังได้

3.1. ที่รับฟังได้

3.1.1. ยกเว้น ต้องห้ามมิให้รับฟัง โดยบทกฎหมายใดกฎหมายหนึ่ง

3.2. ต้องห้ามมิให้รับฟัง

3.2.1. พยานหลักฐานเท็จ,ปลอม

3.2.2. คำสารภาพในชั้นจับกุม

3.2.3. พยานหลักฐานฟุ่มเฟือย ประวิงให้ชักช้า ไม่เกี่ยวกับประเด็น

3.2.4. เกิดจากการจูงใจ ให้คำมั่น ขู่เข็ญ หลอกลอง หรือโดยมิชอบด้วยประการอื่น

3.2.4.1. ถ้อยคำผู้ถูกจับกุมให้ไว้ในชั้นจับกุม ไม่มีการแจ้งสิทธิ

3.2.4.2. ถ้อยคำที่ให้ไว้กับพนง.จับกุม ในชั้นจับกุม หรือมอบตัว ไม่มีการแจ้งสิทธิ

3.2.4.3. ถ้อยคำที่ให้ไว้กับพนง.สืบสวน ไม่มีการดำเนินตาม

3.2.4.4. ถ้อยคำใดใด ที่ผู้ตเ้องหาให้ไว้กับพนง.สอบสวน ไม่แจ้งเตือนสิทธิ

3.3. ต้องห้ามมิให้รับฟัง แต่อาจยกเว้น

3.3.1. พยานหลักฐานที่เกิดขึ้นโดยชอบ แต่ได้มาเนื่องจากการกระทำโดยมิชอบ หรือพยานหลักฐานที่ได้มาโดยอาศับข้อมูลที่เกิดขึ้น หรือได้มาโดยมิชอบ

3.3.2. พยานหลักฐานที่เกี่ยวกับการกระทำผิดครั้งอื่นๆ หรือความประพฤติผิดในทางเสื่อมเสียของจำเลย

3.3.3. การสืบพยานในความผิดเกี่ยวกับเพศ

3.3.3.1. ยกเว้น ได้รับอนุญาติจากศาล

3.3.4. พยานหลักฐานที่ไม่ได้ยื่นบัญชีระบุพยาน

3.3.5. นำสืบพยานเอกสารที่ขัดต่อเงื่อนไขต่อศาล

3.3.6. พยานบอกเล่า

3.3.7. บัทึกคำเบิกความในชั้นไต่สวนมูลฟ้อง หรือบันทึกความของพยานที่เบิกความในคดีอื่น

4. ประเด็นข้อพิพาท

4.1. ประเด็นข้อพิพาท

4.1.1. ปัญหาข้อกฎหมาย

4.1.2. ปัญหาข้อเท็จจริง

4.2. ภาระการพิสูจน์

4.2.1. คู่ความฝ่ายที่กล่าวอ้างข้อเท็จจริง เพื่อสนับสนุนคำคู่ความตน

5. การยื่นบัญชีระบุพยาน

5.1. ศาลกำหนดให้มีวันตรวจพยานหลักฐาน

5.1.1. Date

5.1.2. Time

5.1.3. Place

5.2. ศาลมิกำหนดให้มีวันตรวจพยานหลักฐาน

6. การนำสืบหลักฐานในคดีอาญา

6.1. หลักทั่วไป

6.1.1. การพิจารณาคดีต้องทำโดยเปิดเผย

6.1.1.1. ยกเว้น กรณีการพิจารณาคดีลับ

6.1.2. การพิจารณาและการสืบพยาน ต้องกระทำต่อหน้าจำเลย

6.1.2.1. ยกเว้นกรณี

6.1.2.1.1. การรักษาความเรียบร้อยในศาล

6.1.2.1.2. การเดินเผชิญสืบ และการส่งประเด็นสืบ

6.1.2.1.3. การขอสืบพยานบุกคลล่วงหน้า ก่อนฟ้องคดีต่อศาล

6.1.2.1.4. การขอสืบพยานบุคคลล่วงหน้า หลังฟ้องคดี ก่อนวันสืบพยาน

6.1.2.1.5. ศาลมีอำนาจเกี่ยวกับประเด็นสำคัญล่วงหน้า ก่อนวันนัดสืบพยาน

6.1.3. การสืบพยานต้องใช้ภาษาไทย

6.1.3.1. ยกเว้น กรณีผู้ต้องหาหรือจำเลย ไม่สามารถพูด หรือ ไม่เข้าใจภาษาไทย

6.1.3.1.1. ต้องจัดหาล่าม

6.1.4. การพิจารณาคดีโดยศาล

6.1.4.1. ศาลเป็นผู้สืบพยาน

6.1.4.1.1. ด้วยตนเอง

6.1.4.1.2. เพิ่มเติม

6.1.4.2. สืบพยานโดยสาร หรือนอกศาล

6.1.4.3. ศาลอาจส่งประเด็นให้สารอื่นสืบแทน

6.1.4.4. ศาลอนุญาติให้เบิกความนอกศาล

6.1.4.5. กรณีไม่สามารถนำพยานเบิกความในสาลได้ตาม ป.วิ.อ ม.2302/2 ศาลอนุญาติเสนอ

6.1.4.5.1. บันทึกถ้อยคำข้อเท็จจริง

6.1.4.5.2. ความเห็นของผู้ใช้ถ้อยคำ มีถิ่นอยู่ในต่างประเทศ

6.2. การสืบพยานแต่ละประเภท

6.2.1. พยานบุคคล

6.2.1.1. ห้ามโจทก์อ้างจำเลยเป็นพยาน

6.2.1.1.1. จำเลยในคดีเดียวกัน

6.2.1.2. จำเลยอ้างตนเป็นพยานได้

6.2.1.3. การไม่ตอบคำถาม ซึ่งทำให้ตนถูกกล่าวหาในคดีอาญา

6.2.1.4. อำนาจศาลในห้องพิจารณา

6.2.1.5. อำนาจศาลในการถามพยาน

6.2.1.6. วิธีปฏิบัติในการบันทึกคำเบิกความพยานในชั้นไต่สวนมูลฟ้อง มาชั้นพิจารณา

6.2.2. พยานเอกสาร

6.2.2.1. นำสืบด้วยต้นฉบับ

6.2.2.1.1. เอกสารเอกชน

6.2.2.1.2. เอกสารราชการ

6.2.2.2. อ้างพยางเอกสารที่อยู่กับบุคคลภายนอก

6.2.2.3. เงื่อนไข การยื่นพยานเอกสารต่อศาล

6.2.3. พยานวัตถุ

6.2.3.1. การอ้างพยานวัตถุ

6.2.3.2. การตรวจพยานวัตถุ

6.2.4. พยานผู้เชี่ยวชาญ

6.2.4.1. คุณลักษณะ

6.2.4.2. การทำความเห็น

6.2.4.3. การตรวจศพ

6.2.4.4. การเบิกความ

6.2.4.5. ใช้พยานหลักฐานทางวิทยาศาสตร์