หลักการบริหารสมัยใหม่ (ค.ศ.1970-2000) Modern Organization Theory

Começar. É Gratuito
ou inscrever-se com seu endereço de e-mail
หลักการบริหารสมัยใหม่ (ค.ศ.1970-2000) Modern Organization Theory por Mind Map: หลักการบริหารสมัยใหม่ (ค.ศ.1970-2000) Modern Organization Theory

1. ผู้ที่เริ่มพูดถึงแนคิดนี้เป้นคนแรก คือ Bertalanffy นักชีววิทยาชาวออสเตรีย ต่อมาแนวคิดนี้เริ่มเป็นที่รู้จักกันแพร่หลายเมื่อทศวรรษ 1940 และพัฒนาไปสู่สาขาอื่นๆ เช่น ฟิสิกส์ Cybernetic (เช่นงานของFrederic Vester)

2. System Theory

2.1. ความหมาย

2.1.1. สิ่งต่างๆบนโลกมีลักษณะเป็นระบบต้องมีองค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กันเป็นกระบวนการ เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ตามที่ได้กำหนดไว้ โดยระบบจำแนกได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้

2.1.1.1. ระบบปิด (Closed System) เป็นระบบที่มีความสมบูรณ์ในตัวเอง ไม่สัมพันธ์กับระบบอื่นใด และแยกตนเองออกจากสภาพแวดล้อมต่างๆทางสังคม สามารถควบคุมได้ เช่น การทดลองทางวิทยาศาสตร์ จะต้องอยู่ในกระบวนการที่ถูกควบคุมและไม่สามารถเปลียนแปลงปรับเปลี่ยนได้ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่สมบูรณ์ถูกต้อง

2.1.1.2. ระบบเปิด (Open System) เป็นระบบที่ต้องปฏิสัมพันธ์กับสิ่งต่างๆ ทั้งบุคคล องค์การ หรือหน่อยงาน ในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง มีการเอื้อประโยชน์ พึ่งพาซึ่งกันและกัน โดยสิ่งแวดล้อมภายนอกมีผลหรือมีอิทธิพลต่อการทำงานขององค์การด้วย ไม่สามารถควบคุมได้

2.2. ประวัติความเป็นมา

2.2.1. แนวคิดเเละทฤษฎีระบบ เริ่มต้นขึ้นเมื่อประมาณปี 1920-1940 บรรดานักวิทยาศาสตร์สังเกตเห็นเหตุการณ์หรือปรากการณ์ต่างๆบนโลคนี้เกิดขึ้นอย่างมีความซับซ้อนเป็นไปในลักษณะเดียวกัน คล้ายกันซึ่งเรียกว่า ความเป็นระบบ จนกระทั้งเมื่อประมาณปี ค.ศ.1930 Ludving Von Bertalanffy ค้นพบทฤษฎีระบบทั่วไป (General systems theory) และนำเสนอมุมมองระบบแบบองค์รวมในปี ค.ศ.1956

2.2.2. โดยในช่วงหลังแนวคิดนี้ได้พัฒนาไปเป็น Complexity Theory และบางส่วนก็พัฒนาไปเป็นทฤษฎีไร้ระเบียบหรือ Chaos Theory ทฤษฎีนี้ได้เข้ามามีบทบาทในการศึกษาทางสายสังคมศาสตร์ด้วยเช่นกัน อาทิ Claud levin และทฤษฎีที่ได้รับอิทธิพลโดยตรงจาก System Theory ก็คือแนวพวก Radical Constructivism ที่เชื่อว่าโลกหรือการรับรู้ของเรานั้นเกิดจากสิ่งที่สมองของเราสร้างขึนทั้งสิ้น

2.3. 2. ปัจจับนำเข้า (Inputs)

2.4. องค์ประกอบของระบบ

2.4.1. 3. กระบวนการ (Processes)

2.4.2. 4. ผลลัพธ์ (Outputs)

2.4.3. 1. วัตถุประสงค์ (Goals)

2.4.4. 5. การส่งข้อมูลป้อนกลับ (Feedback)

2.4.5. 6. การควบคุม (Control)

2.4.6. 7. สิ่งแวดล้อม (Environments)

2.5. องค์ประกอบหลัก

2.5.1. กระบวนการ (Process) คือ องค์ประกอบต่อมาของระบบ หมายถึง วิธีการที่จะนำไปสู่ผลงานหรือผลผลิตของระบบและในระบบการศึกษาได้แก่ วิธีการสอนต่างๆ เป็นต้น

2.5.2. สิ่งที่ป้อนเข้าไป (Input) หมายถึง ปัจจัยต่างๆหรือองค์ประกอบแรกนำไปสู่การดำเนินงานของระบบ โดยรวมไปถึงสภาพแวดล้อมต่างซึ่งเป็นที่ต้องการของระบบนั้นๆ ในระบบการศึกษาตัวป้อนเข้าไป ได้แก่ นักเรียน สภาพแวดล้อมของนักเรียน โรงเรียน สมุด ดินสอ และอื่นๆเป็นต้น

2.5.3. ผลงาน (Output) หรือ ผลิตผล (Product) เป็นองค์ประกอบสุดท้ายของระบบ หมายถึง ความสำเร็จในลักษณะต่างๆที่มีประสิทธิภาพ หรือประสิทธิผลในระบบการศึกษา ได้แก่ นักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในลักษณะต่างๆ หรือนักเรียนที่มีความรู้ความสามารถที่จะดำรงชีวิตในอนาคตได้ตามอัตถภาพ เป็นต้น

3. Contingency Management

3.1. การบริหารในยุคนี้มุงเนน ความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรและสภาพแวดลอมขององคกรและเปนสวนขยายของทฤษฎีระบบวา ทุกๆ สวนจะตองสัมพันธกับสถานการณ

3.2. หลักการคิด

3.2.1. การบริหารจะดีหรือไมขึ้นอยูกับสถานการณ สถานการณจะเปนตัวกําหนดการตัดสินใจ และรูปแบบการบริหารที่เหมาะสม และผูบริหารจะตองพยายามวิเคราะหสถานการณใหดีที่สุด โดยเปนการผสมผสานแนวคิดระหวางระบบปดและระบบเปด และยอมรับหลักการของทฤษฎีระหว่างทุกส่วนของระบบจะตองสัมพันธ และมีผลกระทบซึ่งกันและกัน

3.3. การบริหารเชิงสถานการณ์จะคํานึงถึงสิ่งแวดลอมและความตองการของบุคคลในหนยงานเปนหลักมากกวาที่จะแสวงหาวิธีการอันดีเลิศมาใช้ในการทำงาน โดยใชปจจัยทางด้านจิตวิทยาในการพิจารณาด้วย โดยเน้นให้ผูบริหารรูจักใช้การพิจารณาความแตกตางที่มี อยูในหนวยงาน

3.3.1. ความแตกต่างระหว่างบุคคล

3.3.2. ความแตกต่างระหว่างระเบียบกฏเกณฑ์ วิธีการ กระบวนการ การควบคุมงาน

3.3.3. ความแตกต่างระหว่างความสัมพันธ์ของบุคคลในองค์กร

3.3.4. ความแตกต่างระหว่างเป้าหมายการดำเนินงานขององค์กร

4. กลยุทธการบริหาร

4.1. Balanced scorecard

4.1.1. Balanced Scorecard คือระบบการบริหารจัดการ (Management system) ที่แปลงพันธกิจและกลยุทธ์ขององค์กร ไปสู่การกำหนดวัตถุประสงค์หรือเป้าหมาย (objective) และการวัดผล (Measures) ขององค์กรที่ชัดเจนและวัดผลได้ใน 4 มุมมองคือ

4.1.1.1. มุมมองด้านการเงิน (financial perspectives)

4.1.1.2. มุมมองด้านลูกค้า (costumer perspectives)

4.1.1.3. มุมมองด้านกระบวนการภายใน (internal business process perspectives)

4.1.1.4. มุมด้านการเรียนรู้และเติบโตขององค์กร (learning and growth perspectives)

4.1.2. ประวัติ

4.1.2.1. Balanced Scorecardถูกพัฒนาขึ้นเมื่อปี 1990 โดย Drs. Robert Kaplan จาก Harvard Business School และ David Norton จาก Balanced Scorecard Collaborative โดยตั้งชื่อระบบนี้ว่า “Balanced Scorecard” เพื่อให้ผู้บริหารขององค์กรรับรู้ถึงจุดอ่อน และความไม่ชัดเจนของการบริหารงานที่ผ่านมา

4.1.3. ความหมาย

4.1.3.1. Balanced Scorecard คือระบบการบริหารงานและประเมินผลทั้งองค์กร และไม่ใช่เฉพาะเป็นระบบการวัดผลเพียงอย่างเดียว แต่จะเป็นการกำหนดวิสัยทัศน์ (vision) และแผนกลยุทธ์ (strategic plan) แล้วแปลผลลงไปสู่ทุกจุดขององค์กรเพื่อใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานของแต่ละฝ่ายงานและแต่ละคน