1. ความหมายประชาธิปไตย
1.1. วิถีชีวิต
1.1.1. การมองโลกในแง่ดี
1.1.1.1. ไม่มีอคติต่อผู้อื่น
1.1.2. การมีน้ำใจนักกีฬา
1.1.2.1. รู้จักให้อภัยกันและกัน
1.1.3. ความซื่อสัตย์และจริงใจ
1.1.3.1. ไว้วางใจและมีไมตรีจิตต่อกัน
1.1.4. การควบคุมอารมณ์ข่มใจ
1.1.4.1. การคิดก่อนทำ
1.1.5. ความอดทนอดกลั้น
1.1.5.1. เมื่อเกิดปัญหาต้องรู้จักอดกลั้น
1.1.6. ความเสียสละ
1.1.6.1. รู้จักการเป็นผู้ให้
1.1.7. ความมีเหตุผล
1.1.7.1. ใช้เหตุผลมากกว่าอารมณ์
1.1.8. การมีส่วนร่วม
1.1.8.1. การเข้าร่วมในกิจการบ้านเมืองต่างๆ
1.2. การเมืองการปกครอง
1.2.1. ประชาธิปไตยของประชาชน
1.2.1.1. ให้รัฐบาลทำตามข้อเรียกร้อง
1.2.1.2. แสดงออกด้วยการปฎิบัติตนตามกฏหมาย
1.2.2. ประชาธิปไตยโดยประชาชน
1.2.2.1. โดยตรง
1.2.2.2. โดยอ้อม
1.3. อุดมการณ์ทางการเมือง
1.3.1. สิทธิและเสรีภาพ
1.3.1.1. ประชาชนทุกคนมีสิทธิ์ทิและเสรีภาพอันชอบธรรมตามกฎหมาย
1.3.1.2. แบ่งอำนาจออกเป็นอำนาจนิติบัญญัติบริหารและตุลาการ
1.3.2. ความเสมอภาค
1.3.2.1. ทางการเมือง
1.3.2.1.1. เลือกตั้งเสียงหนึ่งเสียงต่อคน
1.3.2.2. ทางเศรษฐกิจ
1.3.2.2.1. ช่วยสังคมที่ด้อยโอกาส
1.3.2.3. ทางโอกาส
1.3.2.3.1. โอกาสทางการศึกษาการทำงาน
2. คุณค่าของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
2.1. ต่อบุคคล
2.1.1. บุคคลย่อมเสมอภาคได้รับความคุ้มครองเท่าเทียมกัน
2.2. ต่อสังคม
2.2.1. สามารถอนุรักษ์หรือฟื้นฟูจารีตประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่นของชาติ
2.2.2. การใช้สิทธิ์เลือกตั้งเพื่อส่งเสริมคนดีให้เข้ามาบริหารบ้านเมือง
3. การพัฒนาเศรษฐกิจ
3.1. ทำให้ประชาชนเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองด้วยความสมัครใจ
4. ปัจจัยที่จำเป็นต่อการปกครองระบอบประชาธิปไตย
4.1. การศึกษา
4.1.1. ทำให้ประชาชนมีความรู้
4.2. ศรัทธาของประชาชน
4.2.1. เกิดจากการที่ประชาชนติดตามข่าวสารบ้านเมือง
4.3. ปัจจัยทางประวัติศาสตร์
4.3.1. แสดงให้เห็นถึงความมั่นคงของประชาธิปไตยที่สุดทอดกันมา
4.4. การยอมรับหลักการประชาธิปไตย
4.4.1. การเคารพเสียงส่วนใหญ่โดยไม่ลิดรอนสิทธิ์เสียงส่วนน้อย
4.5. คุณลักษณะของนักประชาธิปไตย
4.5.1. การรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
4.6. วัฒนธรรมแบบประชาธิปไตย
4.6.1. ความเคารพในคุณค่าของบุคคล