มนุษยสัมพันธ์กับศาสนา

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
มนุษยสัมพันธ์กับศาสนา by Mind Map: มนุษยสัมพันธ์กับศาสนา

1. ศาสนาพุทธ ทำดี ละเว้นความชั่ว ทำจิตใจให้ผ่องใส

1.1. อริยสัจ 4

1.1.1. ทุกข์

1.1.2. สมุทัย

1.1.3. นิโรจ

1.1.4. มรรค

1.1.4.1. มรรค8

1.1.4.1.1. สัมมาทิฐิ

1.1.4.1.2. สัมมาสังกะปะ

1.1.4.1.3. สัมมาวาจา

1.1.4.1.4. สัมมากัมมันตะ

1.1.4.1.5. สัมมาอาชีวะ

1.1.4.1.6. สัมมาวายามะ

1.1.4.1.7. สัมมาสติ

1.1.4.1.8. สัมมาสมาธิ

1.2. หิริโอตัปปะ

1.3. ขันติโสรัจจะ

1.4. เบญจศีลและเบญจธรรม

1.4.1. เบญจศีล

1.4.1.1. เว้นจากการฆ่าสัตว์

1.4.1.2. เว้นจากการลักทรัพย์

1.4.1.3. เว้นจาการประพฤติผิดในกาม

1.4.1.4. เว้นจากการพูดเท็จ

1.4.1.5. เว้นจากการดื่มสุราเมรัย

1.4.2. เบญจธรรม

1.4.2.1. มีความเมตตากรุณา

1.4.2.2. สัมมาอาชีววะ

1.4.2.3. ความสำรวมในกาม

1.4.2.4. มีความซื่อสัตย์

1.4.2.5. มีสติสัมปชัญญะ

1.5. หลักธรรมที่ช่วยในการสร้างสัมพันธืกับผู้อื่น

1.5.1. สังคหวัตถุ4 หรือสังควัตถุธรรม

1.5.1.1. ทาน

1.5.1.1.1. เพื่ออนุเคราะห์

1.5.1.1.2. เพื่อสงเคราะห์

1.5.1.1.3. เพื่อบูชา

1.5.1.2. ปิยวาจา

1.5.1.3. อัตถจริยา

1.5.1.4. สมานัตตา

1.5.2. ฆราวาสธรรม

1.5.2.1. สัจจะ

1.5.2.2. ทมะ

1.5.2.3. ขันติ

1.5.2.4. จาคะ

1.6. หลักธรรมสำหรับการบริหาร

1.6.1. พรหมวิหาร 4 หรือพรมวิหารธรรม

1.6.1.1. เมตตา

1.6.1.2. กรุณา

1.6.1.3. มุทิตา

1.6.1.4. อุเบกขา

1.6.2. ทศพิธราชธรรม

1.6.2.1. ทาน

1.6.2.2. ศีล

1.6.2.3. ปริจาค

1.6.2.4. อาชวะ

1.6.2.5. ตะปะ

1.6.2.6. อักโกธะ

1.6.2.7. อวิหิงสา

1.6.2.8. ขันติ

1.6.2.9. อวิโรธนะ

1.7. หลักธรรมเพื่อพัฒนาตนเอง

1.7.1. อิทธิบาท4

1.7.1.1. ฉันธะ

1.7.1.2. วิริยะ

1.7.1.3. จิตตะ

1.7.1.4. วิมังสา

1.7.2. สัปปุริสธรรม 7

1.7.2.1. ธัมมัญญุตา

1.7.2.2. อัตถัญญุตา

1.7.2.3. อัตตัญญุตา

1.7.2.4. มัตตัญญุตา

1.7.2.5. กาลัญญุตา

1.7.2.6. ปริสัญฦญุตา

1.7.2.7. ปุคคลัญญุตา

2. คริสต์ รักเพื่อนบ้านเหมือนรักตนเอง

2.1. นิกาย

2.1.1. โรมันคาทอลิก

2.1.2. กรีกออร์ธอดอกซ์

2.1.3. โปรแตสแตนต์

2.2. หลักคำสอน10ประการของโมเสส

2.3. พิธีกรรมทางศาสนา

2.3.1. ศิลล้างบาป

2.3.2. ศิลกำลัง

2.3.3. ศิลมหาสนิท

2.3.4. ศีลสารภาพบาป

2.3.5. ศิลเเจมผู้ป่วย

2.3.6. ศิลบวช ศีลอนุกรม

2.3.7. ศิลสมรส หรือศีลกล่าว

3. องค์ประกอบของศาสนา

3.1. ศาสดา

3.2. คำสอน คำภีร์

3.3. ผู้สืบทอด

3.4. ศาสนสถาน

3.5. สัญลักษณ์ เครื่องหมาย

3.6. การปฏิบัติตามความเชื่อ

4. ประเภทของศาสนา

4.1. เทวนิยม

4.1.1. เอกเทวนิยม

4.1.2. พหุเทวนิยม

4.2. อเทวนิยม

5. ศาสนาอิสลาม

5.1. หลักศรัทธา

5.1.1. ศรัทธาต่ออัลลฮ์

5.1.2. ศรัทธาต่อบรรดาสาอิก๊ะฮ

5.1.3. ศรัธาต่อบรรดาพระคัมภีร์

5.1.4. ศรัธาต่อศาสนทูต

5.1.5. ศรัธาต่อวันสิ้นโลก

5.1.6. ศรัธาต่อวันกำหนดสภาวการณ์ของพระเจ้า

5.2. หลักปฏิบัติ

5.2.1. การปฏิญาณตน

5.2.2. การละหมาด

5.2.3. การถือศิลอด

5.2.4. การบริจากซะกาด

5.2.5. การประกอบพิธีฮัจญ์

6. หน้าที่ของศาสนา

6.1. ต่อบุคคล

6.1.1. ตอบสนองความอยากรู้อยากเห็น

6.1.2. สิ่งที่เป็นสาระแก่ชีวิต

6.1.3. ตอบสนองความต้องการทางอารมณ์ ทำให้เกิดความอบอุ่นทางใจต่อ

6.1.3.1. แรงผลักดันความต้องการทางเพศ

6.1.3.2. แรงผลักดันที่จะทำลายสิ่งที่ตนเองไม่พอใจ หวาดกลัว

6.2. ต่อสังคม

6.2.1. รู้ระเบียบทางสังคม

6.2.2. ช่วยกำหนดสถานภาพบทบาทของสมาชิค

6.2.3. เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในสังคม

6.2.4. สังคมเป็นบึกแผ่น

6.2.5. ช่วยในการควบคุม

6.2.6. สร้างสวัสดิการในสังคม